ภาษาคำเมือง ( ล้านนา ) |
![]() |
![]() |
![]() |
เขียนโดย ภาษาสยาม |
วันอังคารที่ 18 พฤศจิกายน 2008 เวลา 20:24 น. |
ภาษาคำเมือง ( ภาษาล้านนา )
กำเดียว : เดี๋ยวเดียว
กาสะลอง : ดอกปีบ
กาด : ตลาด
กว๋าว : ดอกทองกวาว
เก็ดถะหวา : ดอกพุดซ้อน
ข่าว้า : ชาวป่ามีนิสัยดุร้าย
ข้าเจ้า : ฉัน , ดิฉัน
ขึด : ผิดประเพณี , สิ่งที่ไม่ดี
คำ : ทอง
จะอั้น : อย่างนั้น
จ๋ำญาม : ดอกบานเย็น
จี๋หุบ : ดอกยี่หุบ
เจ้า : ฉัน , ดิฉัน
ฉำฉา : ต้นก้ามปู
ซอมพอ : ดอกหางนกยูง
ดอกแก้ว : ดอกพิกุล
ดอกด้าย : ดอกหงอนไก่
เดือนดับ : แรม ๑๕ ค่ำ
เดือนเป็ง : ขึ้น ๑๕ ค่ำ
ต๋าเหิน : ดอกมหาหงส์
ตะหล้อม : ดอกบานไม่รู้โรย
ตุงตั๋วเปิ้ง : ธงสามเหลี่ยมมีรูปสัตว์ตามปีนักษัตร
แถน : เทวดา
บ่ : ไม่
บัวผัด : ดอกทานตะวัน
บัวละวง : ดอกพุทธรักษา
ปะ : พบ
ป๊าน : บัวสาย
ป๋านเถื่อน : ดอกรัก
ปิ๊ก : กลับ
เปิ้น : เขา , เขาทั้งหลาย
ผ่อ : ดูแล , มอง
ผิดผี : วัฒนธรรมชาวล้านนานั้นนับถือผีปู่ย่าตายาย และเชื่อกันว่า
ชาย – หญิงที่ยังไม่แต่งงานกัน ถ้าแตะเนื้อต้องตัวกันถือว่าผิดผี
ผ่อ : ดูแล , มอง
ไผ : ใคร
พญาวัน : วันสงกรานต์ ๑๕ เมษายน
เมิน : นาน
แม่น : ใช่
แม่นก่อ : ใช่ไหม
ละอ่อน : เด็ก
แล : และ
แลง : ยามเย็น
วันเนา : วันสงกรานต์ ๑๔ เมษายน
สามสี : ดอกพุดตาน
สลุงเงิน : ขันเงิน
สะบันงา : ดอกกระดังงา
สุมา : ขออภัย , ขอโทษ
สู : เธอ , คุณ ,
หอคำ : ที่อยู่ของเจ้าเมือง
หอมนวล : ดอกลำดวน
แหม : อีก
ไหมคำ : ผ้าไหมสีทอง
ไห้ : ร้องไห้
ไหว้สา : ทำความเคารพ
อ้าย : พี่ อู้ : พูด |
แก้ไขล่าสุด ใน วันอังคารที่ 06 กรกฏาคม 2010 เวลา 13:13 น. |