อัลบั้มรูปและบันทึกของ น้ำฝน ทะกลกิจ (น้ำฟ้า)

เสวนาภาษาไทย

Re: อัลบั้มรูปและบันทึกของ"น้ำฟ้า"น้ำฝน ทะกลกิจ

โพสต์โดย ภาษาสยาม » เสาร์ 12 ม.ค. 2013 10:54 am

หน้า ๓
N.07_resize.jpg
N.07_resize.jpg (48.26 KiB) เปิดดู 80733 ครั้ง

รีวิวประกอบเพลง "ครูในดวงใจ"งานเกษียณผอ.บุญเรือน
ถ่ายภาพร่วมกับพี่จูน รำไพ เอียดฤทธิ์ พี่เปิ้ล อรทัย สุขสวัสดิ์
บาดแผลเป็นสัญลักษณ์ของนักสู้
ภาพประจำตัวสมาชิก
ภาษาสยาม
Administrator
Administrator
 
โพสต์: 1145
ลงทะเบียนเมื่อ: อาทิตย์ 06 ก.ค. 2008 9:43 pm

Re: อัลบั้มรูปและบันทึกของ"น้ำฟ้า"น้ำฝน ทะกลกิจ

โพสต์โดย ภาษาสยาม » เสาร์ 12 ม.ค. 2013 11:00 am

N.08_resize.jpg
N.08_resize.jpg (49.65 KiB) เปิดดู 80733 ครั้ง

วัดอินทขีล สะดือเมือง เชียงใหม่ ตุลาคม ๒๕๕๔
บาดแผลเป็นสัญลักษณ์ของนักสู้
ภาพประจำตัวสมาชิก
ภาษาสยาม
Administrator
Administrator
 
โพสต์: 1145
ลงทะเบียนเมื่อ: อาทิตย์ 06 ก.ค. 2008 9:43 pm

Re: อัลบั้มรูปและบันทึกของ"น้ำฟ้า"น้ำฝน ทะกลกิจ

โพสต์โดย ภาษาสยาม » เสาร์ 12 ม.ค. 2013 11:04 am

N.09.jpg
N.09.jpg (81.9 KiB) เปิดดู 80300 ครั้ง

วันลอยกระทง ปี ๕๔ ณ ดอยสุเทพ เชียงใหม่ กับอ.สมฤดี จันทร์แสง และอ.วราภรณ์ บัวผัน
บาดแผลเป็นสัญลักษณ์ของนักสู้
ภาพประจำตัวสมาชิก
ภาษาสยาม
Administrator
Administrator
 
โพสต์: 1145
ลงทะเบียนเมื่อ: อาทิตย์ 06 ก.ค. 2008 9:43 pm

Re: อัลบั้มรูปและบันทึกของ"น้ำฟ้า"น้ำฝน ทะกลกิจ

โพสต์โดย ภาษาสยาม » เสาร์ 12 ม.ค. 2013 11:14 am

N.10_resize.jpg
N.10_resize.jpg (69.11 KiB) เปิดดู 80299 ครั้ง

งานนายอินทร์อะวอร์ด ๕๕
ถ่ายภาพร่วมกับพี่เอียด ปิยะพร ศักดิ์เกษม และพี่ปุ้ย กิ่งฉัตร
สองนักเขียนรุ่นใหญ่ ^^
บาดแผลเป็นสัญลักษณ์ของนักสู้
ภาพประจำตัวสมาชิก
ภาษาสยาม
Administrator
Administrator
 
โพสต์: 1145
ลงทะเบียนเมื่อ: อาทิตย์ 06 ก.ค. 2008 9:43 pm

Re: อัลบั้มรูปและบันทึกของ"น้ำฟ้า"น้ำฝน ทะกลกิจ

โพสต์โดย ภาษาสยาม » เสาร์ 12 ม.ค. 2013 11:24 am

N.11_resize.jpg
N.11_resize.jpg (63.4 KiB) เปิดดู 80388 ครั้ง

บอกอแครบและเหล่านักเขียนสนพ.อรุณ
ภาวิน ริญจน์ธร อสิตา ดวงมาลย์ สิริณ น้ำฟ้า nanaspace เนตรนภัส เอื้องอลิน
บาดแผลเป็นสัญลักษณ์ของนักสู้
ภาพประจำตัวสมาชิก
ภาษาสยาม
Administrator
Administrator
 
โพสต์: 1145
ลงทะเบียนเมื่อ: อาทิตย์ 06 ก.ค. 2008 9:43 pm

Re: อัลบั้มรูปและบันทึกของ"น้ำฟ้า"น้ำฝน ทะกลกิจ

โพสต์โดย ภาษาสยาม » เสาร์ 12 ม.ค. 2013 11:27 am

N.01_resize.jpg
N.01_resize.jpg (92.74 KiB) เปิดดู 80388 ครั้ง

เป็นกรรมการตัดสิน "เรียงความกองทัพอากาศกับประชาชน"
ในงาน๑๐๐ปีบุพการีทหารอากาศ ถ่ายภาพร่วมกับผบ.ทอ.คุณชลิต กลิ่นสี และบอกอดวงกมล
บาดแผลเป็นสัญลักษณ์ของนักสู้
ภาพประจำตัวสมาชิก
ภาษาสยาม
Administrator
Administrator
 
โพสต์: 1145
ลงทะเบียนเมื่อ: อาทิตย์ 06 ก.ค. 2008 9:43 pm

Re: อัลบั้มรูปและบันทึกของ"น้ำฟ้า"น้ำฝน ทะกลกิจ

โพสต์โดย ภาษาสยาม » เสาร์ 12 ม.ค. 2013 11:41 am

N.02.jpg
N.02.jpg (36.72 KiB) เปิดดู 80388 ครั้ง

ยืนบูธงานสัปดาห์หนังสือ ๕๕ ร่วมกับแม่ช้องและอุษณกรค่ะ
บาดแผลเป็นสัญลักษณ์ของนักสู้
ภาพประจำตัวสมาชิก
ภาษาสยาม
Administrator
Administrator
 
โพสต์: 1145
ลงทะเบียนเมื่อ: อาทิตย์ 06 ก.ค. 2008 9:43 pm

Re: อัลบั้มรูปและบันทึกของ"น้ำฟ้า"น้ำฝน ทะกลกิจ

โพสต์โดย ภาษาสยาม » เสาร์ 12 ม.ค. 2013 11:45 am

น้ำฟ้าและรถม้า..ตามรอยสัตยาภพที่เวียงกุมกาม พฤศจิกายน ๒๕๕๔

N.03_resize.jpg
N.03_resize.jpg (77.05 KiB) เปิดดู 80388 ครั้ง


เวียงกุมกาม เป็นเมืองโบราณที่สร้างขึ้นในรัชสมัยของพญามังรายราวพุทธศตวรรษที่ ๑๘( พ.ศ. ๑๘๓๙ - ๒๑๐๑ ) เป็นเมืองที่มีความมีความรุ่งเรืองอย่างถึงขีดสุด เนื่องจากเคยเป็นศูนย์กลางของอาณาจักรล้านนา ต่อมาเมื่อพญาเม็งรายทรงสร้างเมืองเชียงใหม่ เวียงกุมกามก็ยังเป็นเมืองหน้าด่านสำคัญ จนกระทั่งถึงกาลอวสาน

จากหลักฐานหลักศิลาจารึกที่ขุดพบโดยกรมศิลปากรนั้น พบว่า เวียงกุมกามในอดีตเป็นศูนย์กลางแห่งการค้าขายของชาวล้านนา มีพ่อค้าจากต่างเมืองเข้ามาค้าขายเป็นจำนวนมากและมีเรือล่มเป็นประจำ พญามังรายจึงมีพระราชดำริให้สร้างสะพานข้ามแม่น้ำปิง เพื่อให้การค้าขายสะดวกยิ่งขึ้น

ทางด้านศิลปะนั้น หลักฐานทางศิลปกรรมที่ขุดพบ ทำให้ทราบว่าเวียงกุมกามได้รับอิทธิพลทางศิลปะจากมอญและพม่า จนกลายเป็นศิลปผสมผสานระหว่างล้านนาและพม่า

ต่อมา...เมื่อน้ำจากแม่น้ำปิงเอ่อล้น ทำให้เกิดน้ำท่วมครั้งใหญ่ในเวียงกุมกามจนทำให้เวียงกุมกามกลายเป็นเมืองร้างที่ถูกลืม ในครั้งนั้นแม่น้ำปิงจึงเปลี่ยนเส้นทางเดินจากที่เคยไหลไปทางทิศตะวันออกของเวียงกุมกาม กลายเป็นไหลไปทางด้านทิศตะวันตกซึ่งก็คือแนวน้ำปิงในปัจจุบันนั่นเอง

อุทกภัยครั้งนั้นได้แปรเปลี่ยนเวียงกุมกามจากเมืองอันรุ่งเรืองให้เหลือเพียงซากวิหาร และเจดีย์ที่จมอยู่ใต้ดินลึกกว่า ๒ เมตร วัดที่จมดินลึกที่สุดได้แก่วัดอีค่าง ซึ่งมีชั้นดินปิดทับอยู่ประมาณ ๑. ๘๐ - ๒ . ๓๐ เมตร รองลงมา คือวัดปู่เบี้ย ซึ่งจมดินในระดับความลึก ๑. ๕๐ - ๒. ๐๐ เมตร

เวียงกุมกามเป็นโบราณสถานอันทรงคุณค่า โดยเฉพาะ วัดเจดีย์เหลี่ยม หรือ เจดีย์กู่คำเป็นโบราณสถานที่คงความงดงามมากว่า ๗๐๐ ปีแล้ว นอกจากนี้ยังมีวัดช้างค้ำหรือวัดกานโถมซึ่งเป็นวัดที่เก่าแก่ที่สุด วัดแห่งนี้ตั้งอยู่ใจกลางของเวียงกุมกาม วัดกานโถมนั้นพญาเม็งรายสร้างขึ้นเพื่อสักการะพระมหากัสสปะเถระ นอกจากนี้ยังมีโบราณสถานอื่นๆอีกกว่า ๔๐ แห่ง ประกอบด้วย วัดพญาเม็งราย วัดพระเจ้าองค์ดำ วัดธาตุขาว วัดอีก้าง วัดธาตุปู่เปี้ย กู่ป้าต้อม กู่ต้นโพธิ์ ฯลฯ และยังมีโบราณสถานอื่นๆที่กำลังอยู่ในระหว่างขุดค้น

ปัจจุบันเวียงกุมกามมีพื้นที่อยู่ใน จ .เชียงใหม่ ห่างจากถนนมหิดล ๒ กิโลเมตรหรือประมาณ ๔ - ๕ กิโลเมตรจากสนามบินนานาชาติเชียงใหม่
บาดแผลเป็นสัญลักษณ์ของนักสู้
ภาพประจำตัวสมาชิก
ภาษาสยาม
Administrator
Administrator
 
โพสต์: 1145
ลงทะเบียนเมื่อ: อาทิตย์ 06 ก.ค. 2008 9:43 pm

Re: อัลบั้มรูปและบันทึกของ"น้ำฟ้า"น้ำฝน ทะกลกิจ

โพสต์โดย ภาษาสยาม » เสาร์ 12 ม.ค. 2013 11:48 am

N.06.jpg
N.06.jpg (17.55 KiB) เปิดดู 80388 ครั้ง

กำแพงเมืองชั้นใน โบราณสถานดงละคร จ.นครนายก
๕ มกราคม ๒๕๕๖ เวลาเพล
บาดแผลเป็นสัญลักษณ์ของนักสู้
ภาพประจำตัวสมาชิก
ภาษาสยาม
Administrator
Administrator
 
โพสต์: 1145
ลงทะเบียนเมื่อ: อาทิตย์ 06 ก.ค. 2008 9:43 pm

Re: อัลบั้มรูปและบันทึกของ"น้ำฟ้า"น้ำฝน ทะกลกิจ

โพสต์โดย ภาษาสยาม » เสาร์ 12 ม.ค. 2013 11:50 am

N.04_resize.jpg
N.04_resize.jpg (74.01 KiB) เปิดดู 80388 ครั้ง

หลวงพ่อขาว วัดอินทะขีล สะดือเมือง จ.เชียงใหม่ พฤศจิกายน ๒๕๕๔


หลวงพ่อขาว หรือหลวงพ่ออุ่นเมือง วัดอินทขีล สะดือเมือง

วัดสะดือเมืองนั้น สร้างขึ้นในรัชสมัย พญามังราย เพื่อเป็นที่ประดิษฐานของเสาอินทขิล (เสาหลักเมืองเชียงใหม่) ซึ่งต๋ามตำนานพื้นเมืองเหนือกล่าวถึงพระอินทร์ได้ประทานเสาอินทขิลหื้อแก่ชาวลัวะเพื่อบูชาเมื่อครั้งก่อนสร้างเมืองเชียงใหม่ ดังตี้หันในฮูปว่าวัดอินทขีลเป๋นวัดตี้อยู่ในทักษาเมืองมาแต่เดิม ส่วนวัดเจดีย์หลวงนั้นสร้างขึ้นในรัชสมัยของพระเจ้าแสนเมืองมา กษัตริย์ลำดับที่ ๗ แห่งราชวงศ์มังราย ไม่ปรากฏปีที่สร้างแน่ชัด สันนิษฐานว่าวัดแห่งนี้น่าจะสร้างในปี พ.ศ. ๑๙๒๘-๑๙๔๕ ต่อมาภายหลังเมืองเจียงใหม่ได้รกร้างลงสมัยพม่าเข้าปกครองเมือง จนกระทั่งปี พ.ศ. ๒๓๔๓ พระเจ้ากาวิละ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ได้ร่วมกับก๋องทัพพระเจ้าตาก ขับไล่พม่าออกจากดินแดนล้านนาสำเร็จ และได้ฟื้นฟูเมืองเชียงใหม่ขึ้น และย้ายเสาอินทขิล มาประดิษฐานอยู่ ณ วัดเจดีย์หลวง ทั้งนี้เจดีย์แปดเหลี่ยมซึ่งตั้งอยู่ในหอศิลป์วัฒนธรรมนั้น พงศาวดารโยนกและต๋ำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ ได้กล่าวว่าเป๋นบริเวณที่พญามังรายต้องอัสนีบาตสวรรคต ต่อมาพระยาไชยสงครามราชโอรสได้ทรงสร้างเจดีย์นี้ขึ้น เพื่อบรรจุพระบรมอัฐิพระราชบิดา เสียดายของเก่าทรงคุณค่าเจ้า บ่ดีละเลย
บาดแผลเป็นสัญลักษณ์ของนักสู้
ภาพประจำตัวสมาชิก
ภาษาสยาม
Administrator
Administrator
 
โพสต์: 1145
ลงทะเบียนเมื่อ: อาทิตย์ 06 ก.ค. 2008 9:43 pm

Re: อัลบั้มรูปและบันทึกของ"น้ำฟ้า"น้ำฝน ทะกลกิจ

โพสต์โดย ภาษาสยาม » เสาร์ 12 ม.ค. 2013 11:56 am

หน้า ๔

23_resize.jpg
23_resize.jpg (66.98 KiB) เปิดดู 82913 ครั้ง

งาน"ครอบครัวปากเกร็ด" งานปีใหม่๒๕๕๖
กับแฟนซีย้อนยุค "มาลานำไทย" ๑๑ มกราคม ๒๕๕๖
ไฟล์แนป
11012013299_resize.jpg
11012013299_resize.jpg (44.28 KiB) เปิดดู 82913 ครั้ง
บาดแผลเป็นสัญลักษณ์ของนักสู้
ภาพประจำตัวสมาชิก
ภาษาสยาม
Administrator
Administrator
 
โพสต์: 1145
ลงทะเบียนเมื่อ: อาทิตย์ 06 ก.ค. 2008 9:43 pm

Re: อัลบั้มรูปและบันทึกของ"น้ำฟ้า"น้ำฝน ทะกลกิจ

โพสต์โดย ภาษาสยาม » เสาร์ 12 ม.ค. 2013 12:18 pm

N.08.jpg
N.08.jpg (51.05 KiB) เปิดดู 82912 ครั้ง

บรรยากาศการทำบุญเพื่อน้อง ณ บ้านเด็กอ่อนปากเกร็ด และบ้านนนทภูมิ
(รายได้จากการประมูลนวนิยาย ขอบพระคุณนักอ่านทุกท่านมา ณ ที่นี้ด้วยค่ะ)
N.07_resize.jpg
N.07_resize.jpg (60.67 KiB) เปิดดู 82912 ครั้ง
บาดแผลเป็นสัญลักษณ์ของนักสู้
ภาพประจำตัวสมาชิก
ภาษาสยาม
Administrator
Administrator
 
โพสต์: 1145
ลงทะเบียนเมื่อ: อาทิตย์ 06 ก.ค. 2008 9:43 pm

ย้อนกลับต่อไป

ย้อนกลับไปยัง สนทนากับคนภาษาไทย

ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 138 ท่าน

cron