อดีตกาลล้านนา

เรื่องราวของอาณาจักรล้านนา

Re: ภาพล้านนาในอดีต

โพสต์โดย Namfar » ศุกร์ 30 มิ.ย. 2017 11:49 am

บ้านเฮือนของคนอำเภองาว จังหวัดลำปาง ใกล้ๆสะพานโยง สะพานข้ามแม่น้ำงาว เป็นสะพานที่อยู่คู่บ้านคู่เมืองของชาวลำปางมาแต่โบราณ เริ่มก่อสร้างก่อนสงครามโลกครั้งที่ ๒ ในปี พ.ศ.๒๔๖๙ สร้างแล้วเสร็จในปี พ.ศ.๒๔๗๑ สะพานไม้นี้ไม่มีชื่อเป็นทางการ แต่กรมทางหลวงแผ่นดินเรียกว่า สะพานข้ามลำน้ำงาว ซึ่งมีเพียงแห่งเดียวในประเทศไทย

19553140_1455981441160429_1326974971_n.jpg
19553140_1455981441160429_1326974971_n.jpg (21.82 KiB) เปิดดู 11907 ครั้ง


19553332_1455981451160428_1909705196_n.jpg
19553332_1455981451160428_1909705196_n.jpg (58.91 KiB) เปิดดู 11907 ครั้ง
Namfar
นักเขียน VIP
นักเขียน VIP
 
โพสต์: 499
ลงทะเบียนเมื่อ: พุธ 20 พ.ย. 2013 5:56 pm

Re: ภาพล้านนาในอดีต

โพสต์โดย น้ำฝน ทะกลกิจ » ศุกร์ 21 มิ.ย. 2019 10:04 pm

นักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ถ่ายภาพหมู่บริเวณประตูหน้าของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประมาณ พ.ศ.๒๕๒๐

ที่มา : https://accmochor.wordpress.com/

64686443_2357227487703669_6521770576116187136_n.jpg
64686443_2357227487703669_6521770576116187136_n.jpg (61.38 KiB) เปิดดู 11409 ครั้ง


ข้าราชการแผนกสื่อสารไปรษณีย์โทรเลขเชียงใหม่ ถ่ายภาพหมู่บริเวณหน้าอาคารที่ทำการฯ ในวันที่ ๑๒กันยายน พ.ศ.๒๕๐๑

ปัจจุบันอาคารหลังนี้คือ พิพิธภัณฑ์ตราไปรษณียากร เชียงใหม่

ที่มา : www.tripchiangmai.com
64507755_2355327364560348_876189602015084544_n.jpg
64507755_2355327364560348_876189602015084544_n.jpg (41.22 KiB) เปิดดู 11409 ครั้ง
น้ำฝน ทะกลกิจ
นักเขียนแห่งปี
นักเขียนแห่งปี
 
โพสต์: 1111
ลงทะเบียนเมื่อ: อาทิตย์ 30 ก.ย. 2018 1:00 pm

Re: อดีตกาลล้านนา

โพสต์โดย น้ำฝน ทะกลกิจ » ศุกร์ 21 มิ.ย. 2019 10:12 pm

สาวช่างฟ้อนในบริเวณสนามบินเชียงใหม่ พ.ศ.๒๕๑๐
ที่มา :หนังสือ "เชียงใหม่๒๕๑๐"ของ พ.ต.อ.อนุ เนินหาด
64990999_2353187048107713_5651494770405539840_n.jpg
64990999_2353187048107713_5651494770405539840_n.jpg (44.05 KiB) เปิดดู 5757 ครั้ง


แม่ค้ากาดหลวง เชียงใหม่ พ.ศ.๒๔๘๒
ที่มา : หนังสือ "สมุดภาพ เที่ยวที่ต่างๆ"ธงชัย ลิขิตพรสวรรค์
64643048_2353184441441307_8075018148362846208_n.jpg
64643048_2353184441441307_8075018148362846208_n.jpg (47.02 KiB) เปิดดู 5757 ครั้ง
น้ำฝน ทะกลกิจ
นักเขียนแห่งปี
นักเขียนแห่งปี
 
โพสต์: 1111
ลงทะเบียนเมื่อ: อาทิตย์ 30 ก.ย. 2018 1:00 pm

Re: อดีตกาลล้านนา

โพสต์โดย น้ำฝน ทะกลกิจ » ศุกร์ 21 มิ.ย. 2019 10:28 pm

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่๙และสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลที่๙ เสด็จพระราชดำเนินวัดบ้านปาง อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน
64736715_2351887674904317_2160804261435277312_n.jpg
64736715_2351887674904317_2160804261435277312_n.jpg (43.89 KiB) เปิดดู 5757 ครั้ง


ศาลาที่พักบนดอยสุเทพ
ถ่ายวันที่ ๑๒ เมษายน พ.ศ.๒๔๙๘ โดยนักท่องเที่ยวจากเมืองกรุง
ที่มา: ห้องวิจัยประวัติศาสตร์
64499483_2351912684901816_1214418615877500928_n.jpg
64499483_2351912684901816_1214418615877500928_n.jpg (25.95 KiB) เปิดดู 5757 ครั้ง
น้ำฝน ทะกลกิจ
นักเขียนแห่งปี
นักเขียนแห่งปี
 
โพสต์: 1111
ลงทะเบียนเมื่อ: อาทิตย์ 30 ก.ย. 2018 1:00 pm

Re: อดีตกาลล้านนา

โพสต์โดย น้ำฝน ทะกลกิจ » ศุกร์ 21 มิ.ย. 2019 10:29 pm

จังหวัดน่าน ถ่ายบริเวณหน้าวัดภูมินทร์ พ.ศ.๒๔๙๘
ที่มา : ภาพเก่าย้อนวันวาน
64585146_2351894331570318_969879546163625984_n.jpg
64585146_2351894331570318_969879546163625984_n.jpg (29.28 KiB) เปิดดู 5757 ครั้ง


สาวชาวรัฐฉานของพม่าซึ่งอาศัยที่อำเภอเชียงดาว เจียงใหม่ ถ่าย พ.ศ.๒๔๓๓
ไฟล์แนป
64371872_2349631308463287_595193110431006720_n.jpg
64371872_2349631308463287_595193110431006720_n.jpg (21.16 KiB) เปิดดู 5757 ครั้ง
น้ำฝน ทะกลกิจ
นักเขียนแห่งปี
นักเขียนแห่งปี
 
โพสต์: 1111
ลงทะเบียนเมื่อ: อาทิตย์ 30 ก.ย. 2018 1:00 pm

Re: อดีตกาลล้านนา

โพสต์โดย น้ำฝน ทะกลกิจ » ศุกร์ 21 มิ.ย. 2019 10:35 pm

ภาพถ่ายด้านหลังของอาคารสถานีรถไฟเชียงใหม่ ประมาณพ.ศ.๒๔๙๕-๒๔๙๗
ที่มา : http://www.travel-and-history.com
#ภาพเก่าเล่าเรื่อง
64474382_2350515225041562_2320286606273019904_n.jpg
64474382_2350515225041562_2320286606273019904_n.jpg (41.85 KiB) เปิดดู 5757 ครั้ง


โรงเรียนเรยีนาเชลีวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ ก่อนปี พ.ศ.๒๕๐๐
ที่มา "ล้านนา เมื่อตะวา" บุญเสริม สาตราภัย
64400865_2349792801780471_4708736194664464384_n.jpg
64400865_2349792801780471_4708736194664464384_n.jpg (28.99 KiB) เปิดดู 5757 ครั้ง
น้ำฝน ทะกลกิจ
นักเขียนแห่งปี
นักเขียนแห่งปี
 
โพสต์: 1111
ลงทะเบียนเมื่อ: อาทิตย์ 30 ก.ย. 2018 1:00 pm

Re: อดีตกาลล้านนา

โพสต์โดย น้ำฝน ทะกลกิจ » ศุกร์ 21 มิ.ย. 2019 10:38 pm

โค้งขุนกัน จังหวัดเชียงใหม่ ก่อนการบูรณะ ถ่ายราวๆ พ.ศ.๒๕๓๐
ที่มา : หนังสือ "๕๕ ปี ถนนศรีวิชัยช่วงสุดท้าย ๑๗ เมษายน ๒๕๓๒"
64284627_2349799085113176_872902375780646912_n.jpg
64284627_2349799085113176_872902375780646912_n.jpg (59.39 KiB) เปิดดู 5757 ครั้ง


เส้นทางสายเชียงใหม่-หางดง หลังพ.ศ.๒๕๐๐ เล็กน้อย ทั้งสองฝั่งถนนมีต้นขี้เหล็กใหญ่ เห็นผู้สัญจรส่วนใหญ่ใช้จักรยาน ส่วนบุคคลที่นั่งรถจักรยานยนต์เป็นอดีตตำรวจนายหนึ่ง
ที่มา : หนังสือ "๑๐๐ ปี อำเภอหางดง" พ.ต.อ.อนุ เนินหาด
64320613_2348657991893952_7169738445089144832_n.jpg
64320613_2348657991893952_7169738445089144832_n.jpg (20.73 KiB) เปิดดู 5757 ครั้ง
น้ำฝน ทะกลกิจ
นักเขียนแห่งปี
นักเขียนแห่งปี
 
โพสต์: 1111
ลงทะเบียนเมื่อ: อาทิตย์ 30 ก.ย. 2018 1:00 pm

Re: อดีตกาลล้านนา

โพสต์โดย น้ำฝน ทะกลกิจ » ศุกร์ 21 มิ.ย. 2019 10:43 pm

สนามบิน อำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮองสอน พ.ศ.๒๔๙๓
ที่มา : หนังสือ "เชียงใหม่กับภัยทางอากาศ"บุญเสริม สาตราภัย
62655978_2348685198557898_6534086708370079744_n.jpg
62655978_2348685198557898_6534086708370079744_n.jpg (28.77 KiB) เปิดดู 5757 ครั้ง


ทางรถไฟขนส่งไม้สักสายไชยปราการ-ปางมะเยา เชียงใหม่
111110.jpg
111110.jpg (59 KiB) เปิดดู 5736 ครั้ง


ภาพเก่าเล่าความเจ็บปวด ท่อนซุงขนาดมหึมาจากการค้าไม้ภาคเหนือ
ในสมัยที่ล้านนายังเป็นเมืองประเทศราชของสยาม ตามสถานะประเทศราชเมื่อมีทรัพย์สินอยู่ในเมืองใดทรัพย์นั้นก็ถือว่าเป็นสิทธิ์ขาดของเจ้าผู้ครองนคร ป่าไม้ก็เช่นกัน หากเจ้านายผู้เป็นเจ้าของป่าถึงแก่อนิจกรรมลงป่าไม้ก็จะตกเป็นสมบัติของเจ้านายลูกหลาน เมื่อผู้ใดจะสัมปทานป่าไม้ก็ต้องขออนุญาตเจ้าผู้ครองนครโดยเสียค่าตอตามแต่ที่จะมีการเรียกร้อง ต่อมามีเจ้านายบางคนมิได้ตั้งอยู่ในความเที่ยงธรรม หวังแต่ผลประโยชน์อย่างเดียว การสัมปทานป่าไม้จึงต้องมีการจ่ายเงินพิเศษคือ ค่าเปิดป่า อีกด้วย ผู้ใดให้เงินค่าเปิดป่าสูงสุดก็จะได้สัมปทานไป

หลังจากชาวโปรตุเกตและดัชท์นำเอาไม้สักจากชวาไปเปิดตลาดในยุโรป คนอังกฤษพบว่าไม้สักของพม่านั้นคุณภาพดีกว่าไม้สักของชวาจึงเริ่มพยายามเข้ามาครอบครองป่าไม้ของพม่าและเป้าหมายถัดไปคือป่าไม้ในล้านนา

การทำไม้ หรือการตัดฟันชักลากไม้สัก ในทางภาคเหนือของประเทศ เริ่มดำเนินการตั้งแต่ พ.ศ. ๒๓๘๓ โดยมีชาวจีน พม่า และเงี้ยว (ไทยใหญ่) ขออนุญาตจากเจ้าผู้ครองนครต่างๆ ในหัวเมืองทางเหนือ ได้แก่ เชียงใหม่ ลำพูน และลำปาง ให้เข้าไปตัดฟันไม้สักออกจากป่า โดยเสียเงินค่า "ตอไม้" ให้แก่เจ้าผู้ครองนคร ที่เป็นเจ้าของป่า หลักจากที่รัฐบาลไทยได้ตกลงทำสนธิสัญญาบาวริง (Bowring Treaty) เพื่อการติดต่อค้าขายกับอังกฤษ ใน พ.ศ. ๒๓๙๘ ชาวอังกฤษ และคนในบังคับ ได้แก่ พม่า เงี้ยว และมอญ ได้เข้ามาร่วมดำเนินกิจการทำไม้สักมากขึ้น บริษัทบริติช บอร์เนียว (British Borneo Company,Ltd.) เข้ามาเริ่มดำเนินกิจการป่าไม้ใน พ.ศ. ๒๔๐๗ โดยรับซื้อไม้จากพวกที่ทำไม้อยู่ก่อนแล้ว ในพ.ศ. ๒๔๒๕ กัปตันแอช เอ็น แอน เดอร์เซน (Captain H.N. Andersen) กัปตันเรือชาวเดนมาร์ก ซึ่งได้รับการแต่งตั้งให้เป็นกัปตันเรือสำเภา บรรทุกสินค้าระหว่างประเทศในสมัยรัชกาลที่ ๔ ชื่อเรือ "ทูลกระหม่อม" เรือทูลกระหม่อมได้บรรทุกไม้สักไปขายยังเมืองลิเวิอร์พูล (Liverpool) ประเทศอังกฤษเป็นครั้งแรก ปรากฏว่า ไม้สักที่บรรทุกไปขายได้ราคาดีมาก และหมดภายในเวลาอันรวดเร็ว ได้กำไรมากกว่าร้อยละ ๑๐๐ ทำให้เป็นที่เลื่องลือกันในตลาดยุโรป ถึงความงดงามของไม้สักชั้นดีจากเมืองล้านนา ต่อมาจึงได้มีบริษัทต่างๆ ในยุโรปสั่งจองซื้อไม้สักดังกล่าวเป็นจำนวนมาก

ใน พ.ศ. ๒๔๒๖ รัฐบาลสยามได้เริ่มอนุญาตให้ชาวยุโรปเข้ารับสัมปทานทำไม้สักได้ และในช่วงเวลาเดียวกันคือ หลังจาก พ.ศ. ๒๔๒๘ เป็นต้นมา พม่าก็ได้ปิดป่าสัก ไม่ให้มีการทำไม้ เนื่องจากสภาพป่าสักเสื่อมโทรมลงมากจากการทำไม้ของบริษัทต่างชาติ ความต้องการไม้สักในหมู่ประเทศยุโรปจึงมีมากขึ้น ทำให้บริษัทต่างชาติเริ่มเข้ามาลงทุนทำไม้สักเพิ่มขึ้น บริษัทบริดิซบอร์เนียว ได้รับสัมปทานทำไม้สักใน พ.ศ. ๒๔๓๒ บริษัทบอมเบย์เบอร์มา (Bombay Burma Trading Corporation,Ltd.) ของอังกฤษ ซึ่งเป็นใหญ่และมีอิทธิพลมากในประเทศพม่า เข้ามาใน พ.ศ. ๒๔๓๒ ต่อจากนั้นก็มีบริษัทสยามฟอเรสต์ (Siam Forest Company,Ltd.) หรือบริษัทแองโกลไทย จำกัด ในปัจจุบัน บริษัทอีสต์เอเชียติค (East Asiatic Co.) ของเดนมาร์ก ใน พ.ศ. ๒๔๓๗ บริษัทหลุยส์ตีเลียงโนเวนส์ (Louis t.Leonowens Ltd.) ซึ่งแยกมาจากบริษัทบริดิซบอร์เนียวใน พ.ศ. ๒๔๓๙ ต่อมามีบริษัทของคนไทย คือ บริษัทล่ำซำ และบริษัทกิมเซ่งหลี ได้รับสัมปทานทำไม้สักจากป่าต่างๆ จากเจ้าเมืองเพิ่มขึ้น การทำไม้สักจึงได้ขยายออกไปถึงจังหวัดอื่นๆ ที่มีไม้สักอยู่

การได้สัมปทานทำไม้สักเพิ่มมากขึ้น ทำให้เกิดการแก่งแย่งการทำไม้ ในแต่ละแปลงสัมปทานมีการขัดผลประโยชน์ระหว่างบริษัทต่อบริษัท และบริษัทต่อเจ้าเมืองต่างๆ จึงเกิดเรื่องร้องทุกข์ และฟ้องร้องไปยังรัฐบาลสยามอยู่บ่อยครั้ง ใน พ.ศ. ๒๔๓๘ -๒๔๓๙ รัฐบาลจึงได้จ้างผู้เชี่ยวชาญป่าไม้ชาวอังกฤษ ซึ่งมาสำรวจ และวางโครงการการจัดการป่าไม้ในประเทศพม่าให้แก่รัฐบาลอังกฤษ ชื่อ มร.เอช สเลด (H.Slade) มาสำรวจการทำไม้ และปัญหาต่างๆ ในการให้สัมปทานทำไม้แก่บริษัทต่างๆ ในภาคเหนือของประเทศ ในวันที่ ๑๘ กันยายน ๒๔๓๙ รัฐบาลจึงได้จัดตั้งกรมป่าไม้ขึ้น มีสำนักงานอยู่ที่จังหวัดเชียงใหม่ (ตัวอาคารที่ทำการสำนักงานป่าไม้เขตเชียงใหม่ปัจจุบัน) ในขั้นแรกกรมป่าไม้ ขึ้นกับกระทรวงมหาดไทย มร.เอช สเลด ซึ่งเป็นเจ้ากรม หรืออธิบดีกรมป่าไม้คนแรก มีวัตถุประสงค์ที่จะคุ้มครองป่าไม้บำรุงส่งเสริมความอุดมสมบูรณ์ของป่า และจัดวางโครงการการจัดการป่าไม้ตามหลักวิชาการที่ถูกต้อง

ใน พ.ศ. ๒๔๔๐-๒๔๔๓ รัฐบาลสยามได้ดำเนินการเจรจา และได้รับโอนกรรมสิทธิ์พื้นที่ และการอนุญาตให้สัมปทานทำไม้จากเจ้าเมืองล้านนาให้มาเป็นสมบัติของแผ่นดินเพื่อที่รัฐบาลจะได้ดำเนินกิจการป่าไม้สักเอง รัฐบาลได้ยินยอมจ่ายเงินส่วนแบ่งค่าตอไม้กึ่งหนึ่งของที่เก็บได้ทุกปีให้แก่เจ้านายฝ่ายเหนือที่เคยได้รับอยู่ จากนั้นรัฐบาลได้ประกาศใช้พระราชบัญญัติ และกฎหมายป่าไม้ต่างๆ เกี่ยวกับระเบียบการทำไม้ การป้องกันรักษาป่าไม้ การตั้งด่านภาษี เป็นต้น ได้มีการปรับปรุงแก้ไขสัญญาอนุญาตทำป่าไม้สักกับบริษัทต่างๆ ให้รัดกุม เพื่อให้ได้ประโยชน์สูงสุด และถูกต้องตามหลักวิชาการมากยิ่งขึ้น ทั้งให้ทำสัญญาอนุญาตทำไม้สัญญาละ ๖ - ๑๒ ปี ต่อมาได้ขยายเวลาสัญญาออกเป็นสัญญาละ ๑๕ ปี ตามหลักการจัดการป่าสักโดยวางโครงการตัดฟัน ๓๐ ปี เริ่มต้นใน พ.ศ. ๒๔๕๑ ต่อมาใน พ.ศ. ๒๔๕๓ ได้ย้ายที่ทำการกรมป่าไม้ จากจังหวัดเชียงใหม่มาอยู่ที่กรุงเทพฯ และได้ย้ายสังกัดจากกระทรวงมหาดไทย ไปขึ้นกับกระทรวงเกษตรธิการ หรือกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ในปัจจุบัน เมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๔

ในช่วงระหว่างสงครามโลกครั้งที่ ๒ ใน พ.ศ. ๒๔๘๔ รัฐบาลไทย(สยามเปลี่ยนชื่อเป็นไทย ในปี พ.ศ.๒๔๘๒) ได้เพิกถอนสัมปทานการทำไม้สักจากบริษัทอังกฤษทั้ง ๔ บริษัท ด้วยเหตุผลทางการเมือง และเพื่อพยุงฐานะทางการเงินของรัฐบาล รัฐบาลได้จัดตั้งบริษัทไม้ไทยจำกัดขึ้น รับช่วงการทำไม้แทน หลังสงครามโลกใน พ.ศ. ๒๔๘๙ รัฐบาลจำเป็นต้องคืนสัมปทานป่าสักให้แก่บริษัททำไม้ต่างๆที่ยึดคืนมา และได้จัดตั้งองค์การอุตาหกรรมป่าไม้ (อ.อ.ป.) ขึ้น แทนบริษัทไม้ไทยจำกัดใน พ.ศ. ๒๔๙๐ เพื่อดำเนินกิจการด้านป่าไม้ให้แก่รัฐบาล จนกระทั่ง พ.ศ. ๒๔๙๗ - ๒๔๙๘ สัมปทานป่าสักของบริษัทต่างๆ ได้สิ้นสุดลง และไม่ได้รับต่อสัญญา รัฐบาลได้จัดตั้งบริษัทป่าไม้ร่วมทุนขึ้น โดยรวมทุนจากบริษัททำไม้ที่หมดสัมปทานทั้ง ๕ บริษัทเข้าด้วยกัน โดยรัฐบาลไทยถือหุ้นร้อยละ ๒๐ นอกจากนี้ยังได้จัดตั้งบริษัทป่าไม้จังหวัดขึ้น เพื่อรับทำไม้ในท้องที่จังหวัดนั้นๆ ป่าสักได้ถูกแบ่งออกเป็น ๓ ส่วนคือ ให้องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ทำหนึ่งส่วน บริษัทป่าไม้ร่วมทุนหนึ่งส่วน และบริษัทป่าไม้จังหวัดอีกหนึ่งส่วน จนกระทั่ง พ.ศ. ๒๕๐๓ เมื่อหมดสัมปทาน รัฐบาลจึงได้มอบให้องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ เป็นผู้ดำเนินกิจการทำไม้สักทั้งหมด ยกเว้นสัมปทานป่าสักของเอกชนที่อายุสัญญายังเหลืออยู่ บริษัททำไม้ต่างชาติ ทั้ง ๕ บริษัทก็ได้ปิดกิจการลง

ข้อมูล เชียงใหม่เชียงเก่า , สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน,วิกิพีเดีย

FB_IMG_1552295617884.jpg
FB_IMG_1552295617884.jpg (26.67 KiB) เปิดดู 5756 ครั้ง
น้ำฝน ทะกลกิจ
นักเขียนแห่งปี
นักเขียนแห่งปี
 
โพสต์: 1111
ลงทะเบียนเมื่อ: อาทิตย์ 30 ก.ย. 2018 1:00 pm

Re: อดีตกาลล้านนา

โพสต์โดย น้ำฝน ทะกลกิจ » ศุกร์ 21 มิ.ย. 2019 11:01 pm

ภาพการทำไม้ในอดีต ไม้มากมายมหาศาล บริษัทที่สัมปทานจะลำเลียงไม้ด้วยรถไฟไปสู่แม่น้ำ ในการขนส่งนั้นหากติดภูเขาหินก็จะใช้ระเบิดไดนาไมท์ ถ้าเป็นดินก็ใช้อีเตอร์ จอบ พลั่วในการสร้างทางลำเลียงไม้
attachment=1]K9228903-18.jpg[/attachment]

K9228903-19.jpg
K9228903-19.jpg (169.39 KiB) เปิดดู 5756 ครั้ง
ไฟล์แนป
K9228903-18.jpg
K9228903-18.jpg (194.76 KiB) เปิดดู 5756 ครั้ง
น้ำฝน ทะกลกิจ
นักเขียนแห่งปี
นักเขียนแห่งปี
 
โพสต์: 1111
ลงทะเบียนเมื่อ: อาทิตย์ 30 ก.ย. 2018 1:00 pm

Re: อดีตกาลล้านนา

โพสต์โดย น้ำฝน ทะกลกิจ » ศุกร์ 21 มิ.ย. 2019 11:04 pm

K9228903-23.jpg
K9228903-23.jpg (154.18 KiB) เปิดดู 5756 ครั้ง
ไฟล์แนป
FB_IMG_1552295615245.jpg
FB_IMG_1552295615245.jpg (33.27 KiB) เปิดดู 5756 ครั้ง
น้ำฝน ทะกลกิจ
นักเขียนแห่งปี
นักเขียนแห่งปี
 
โพสต์: 1111
ลงทะเบียนเมื่อ: อาทิตย์ 30 ก.ย. 2018 1:00 pm

Re: อดีตกาลล้านนา

โพสต์โดย น้ำฝน ทะกลกิจ » อาทิตย์ 23 มิ.ย. 2019 1:18 pm

สองหนุ่มกับรถ ฮอนด่า CD 175 c.c.
ในปี พ.ศ.๒๕๒๖ ณ อ่างแก้ว มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ภาพ : นายจำเริญ สุวรรณมณี

108892.jpg
108892.jpg (31.84 KiB) เปิดดู 5735 ครั้ง


ยามาฮ่า๑๐๐ ปี ๒๕๑๕
ภาพ : Viboon Singkateera
109874.jpg
109874.jpg (36.1 KiB) เปิดดู 5734 ครั้ง


109897.jpg
109897.jpg (25.07 KiB) เปิดดู 5734 ครั้ง
น้ำฝน ทะกลกิจ
นักเขียนแห่งปี
นักเขียนแห่งปี
 
โพสต์: 1111
ลงทะเบียนเมื่อ: อาทิตย์ 30 ก.ย. 2018 1:00 pm

Re: อดีตกาลล้านนา

โพสต์โดย น้ำฝน ทะกลกิจ » อาทิตย์ 23 มิ.ย. 2019 2:29 pm

Vespa Sprint V 150 เชียงใหม่ ปี พ.ศ.๒๕๒๑
109896.jpg
109896.jpg (37.67 KiB) เปิดดู 5734 ครั้ง


หนุ่มเจียงใหม่ พ.ศ.๒๕๒๘ Vespa Sprint V 150
เอราวัณ รีสอร์ต โป่งแยง อำเภอแม่ริม
ภาพ : Viboon Singkateera
ไฟล์แนป
109895.jpg
109895.jpg (49.91 KiB) เปิดดู 5734 ครั้ง
น้ำฝน ทะกลกิจ
นักเขียนแห่งปี
นักเขียนแห่งปี
 
โพสต์: 1111
ลงทะเบียนเมื่อ: อาทิตย์ 30 ก.ย. 2018 1:00 pm

ต่อไป

ย้อนกลับไปยัง ร้อยเรื่องเมืองล้านนา

ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 2 ท่าน

cron