เชียงใหม่ในอดีต..ภาพเก่าเล่าความหลัง โดย น้ำฟ้า

เรื่องราวของอาณาจักรล้านนา

Re: เชียงใหม่ในอดีต..ภาพเก่าเล่าความหลัง

โพสต์โดย น้ำฟ้า » จันทร์ 09 ก.ค. 2012 6:25 am

รูปนี้น่าจะมุมสูงวัดสวนดอกเจ้า
241422114_0196.jpg
241422114_0196.jpg (82.11 KiB) เปิดดู 13945 ครั้ง
ผู้หญิงธรรมดา..แต่ใจมันด้านชาผู้ชาย
ภาพประจำตัวสมาชิก
น้ำฟ้า
นักเขียนแห่งปี
นักเขียนแห่งปี
 
โพสต์: 886
ลงทะเบียนเมื่อ: ศุกร์ 11 ก.ค. 2008 10:19 am

Re: เชียงใหม่ในอดีต..ภาพเก่าเล่าความหลัง

โพสต์โดย น้ำฟ้า » จันทร์ 09 ก.ค. 2012 6:28 am

1210606894.jpg
1210606894.jpg (60.61 KiB) เปิดดู 13945 ครั้ง
ผู้หญิงธรรมดา..แต่ใจมันด้านชาผู้ชาย
ภาพประจำตัวสมาชิก
น้ำฟ้า
นักเขียนแห่งปี
นักเขียนแห่งปี
 
โพสต์: 886
ลงทะเบียนเมื่อ: ศุกร์ 11 ก.ค. 2008 10:19 am

Re: เชียงใหม่ในอดีต..ภาพเก่าเล่าความหลัง

โพสต์โดย น้ำฟ้า » จันทร์ 09 ก.ค. 2012 6:31 am

ภาพนี้ฮู้สึกจะเป๋นเวียงกุมกามเจ้า
ไฟล์แนป
ID_60888.jpg
ID_60888.jpg (75.74 KiB) เปิดดู 13945 ครั้ง
ผู้หญิงธรรมดา..แต่ใจมันด้านชาผู้ชาย
ภาพประจำตัวสมาชิก
น้ำฟ้า
นักเขียนแห่งปี
นักเขียนแห่งปี
 
โพสต์: 886
ลงทะเบียนเมื่อ: ศุกร์ 11 ก.ค. 2008 10:19 am

Re: เชียงใหม่ในอดีต..ภาพเก่าเล่าความหลัง

โพสต์โดย น้ำฟ้า » จันทร์ 09 ก.ค. 2012 6:35 am

ภาพนี้เป็นนิยามของคำว่า "แอ่ว"
ไฟล์แนป
L2421391-1.jpg
L2421391-1.jpg (30.67 KiB) เปิดดู 13945 ครั้ง
ผู้หญิงธรรมดา..แต่ใจมันด้านชาผู้ชาย
ภาพประจำตัวสมาชิก
น้ำฟ้า
นักเขียนแห่งปี
นักเขียนแห่งปี
 
โพสต์: 886
ลงทะเบียนเมื่อ: ศุกร์ 11 ก.ค. 2008 10:19 am

Re: เชียงใหม่ในอดีต..ภาพเก่าเล่าความหลัง

โพสต์โดย น้ำฟ้า » จันทร์ 09 ก.ค. 2012 6:40 am

พิธีเปิดโรงเรียนอะไรสักอย่าง...
ไฟล์แนป
L2421391-2.jpg
L2421391-2.jpg (28.3 KiB) เปิดดู 13944 ครั้ง
ผู้หญิงธรรมดา..แต่ใจมันด้านชาผู้ชาย
ภาพประจำตัวสมาชิก
น้ำฟ้า
นักเขียนแห่งปี
นักเขียนแห่งปี
 
โพสต์: 886
ลงทะเบียนเมื่อ: ศุกร์ 11 ก.ค. 2008 10:19 am

Re: เชียงใหม่ในอดีต..ภาพเก่าเล่าความหลัง

โพสต์โดย น้ำฟ้า » จันทร์ 09 ก.ค. 2012 6:44 am

คาราวานงัวล้อ
ไฟล์แนป
กดดกดกดดดำ.jpg
กดดกดกดดดำ.jpg (35.8 KiB) เปิดดู 13942 ครั้ง
ผู้หญิงธรรมดา..แต่ใจมันด้านชาผู้ชาย
ภาพประจำตัวสมาชิก
น้ำฟ้า
นักเขียนแห่งปี
นักเขียนแห่งปี
 
โพสต์: 886
ลงทะเบียนเมื่อ: ศุกร์ 11 ก.ค. 2008 10:19 am

Re: เชียงใหม่ในอดีต..ภาพเก่าเล่าความหลัง

โพสต์โดย ภาษาสยาม » อาทิตย์ 23 ก.ย. 2012 12:54 pm

คอลัมน์ คนกับป่าเมืองเชียงใหม่
เรื่อง: ยามหนึ่ง อนาคาริก ภาพ: จุฑาพร อินทวงค์
คุก ภาษาคำเมืองล้านนาเรียกว่า คอก หมายถึงที่คุมขังจองจำนักโทษ ที่จำกัดอิสรภาพ สืบเนื่องจากพื้นที่ ๑๗ ไร่ ๒ งาน ๖๑ ตารางวาของคุกหญิงเชียงใหม่ อยู่ในเขตตัวเมืองเก่าเชียงใหม่ บริเวณนั้นมีสถานที่สำคัญทางประวัติศาสตร์หลายแห่ง เคยเป็นที่ตั้งของคุ้มหลวง หอคำ วัด โรงช้าง โรงม้า ฉางข้าว บ้านเรือน ผ่านระยะเวลามา ๗๐๐ กว่าปี

คุ้ม ภาษาล้านนาหมายถึงที่ประทับของกษัตริย์ที่อยู่ของเจ้านาย พื้นที่คุกหญิงเชียงใหม่แต่เดิมเคยเป็นที่ตั้งของคุ้มหลวงเวียงแก้ว ซึ่งมีอยู่แต่ในภาพ เชื่อกันว่าเป็นคุ้มในสมัยพระเจ้ากาวิละ(พ.ศ ๒๓๒๕-๒๓๕๘)

คุ้มหลวงกลายเป็นคุกในสมัยพระยานริศราชกิจ(สาย โชติกเสถียร) โดยครั้งแรกทำเป็นรั้วไม้สัก ปี พ.ศ .๒๔๔๕ สมัยเจ้าพระยาสุรสีห์ วิศิษฐศักดิ์(เชย กัลยาณมิตร) ข้าหลวงเทศาภิบาลมณฑลพายัพ หลังปราบกลุ่มขบถเงี้ยว นักโทษมีจำนวนมากขึ้น จึงก่อกำแพงเป็นอิฐ พร้อมสร้างอาคารให้แข็งแรงตั้งแต่นั้นมา

สถานที่แห่งนี้ใช้เป็นคุกทั้งชายหญิงเรื่อยมา ต่อมาศูนย์ราชการเชียงใหม่ ย้ายออกไปอยู่เขตนอกเมือง คุกชายจึงย้ายออกไปด้วย คงเหลือแต่คุกหญิง กระทั่งปี ๒๕๔๔ เทศบาลนครเชียงใหม่ได้ทำหนังสือขอใช้ประโยชน์พื้นที่แห่งนั้น เพื่อปรับปรุงสภาพพื้นที่ให้เป็นสีเขียวของเมือง เป็นสถานที่สาธารณะประโยชน์ เป็นสวนสาธารณะและวัฒนธรรมของเชียงใหม่ พร้อมกับขอย้ายคุกหญิงออกไปอยู่นอกเมือง

ในปีเดียวกันนั้น กลุ่มองค์กรเอกชน ๑๒ องค์กร ก็รวมตัวกันตั้งสถาบันล้านนา และขอให้ย้ายคุกหญิงไปอยู่นอกเมือง นำพื้นที่นั้นมาทำสวนสาธารณะ

เมื่อคุกหญิงแห่งใหม่ใกล้จะเสร็จ จึงเกิดความเคลื่อนไหวในกลุ่มต่างๆ เพื่อหาทางออกกันว่า พื้นที่ทางประวัติศาสตร์อันยาวนานนั้น จะนำไปเกิดประโยชน์เรื่องใดได้มากที่สุด และต้องทำอย่างไรต่อไป การระดมความคิดของภาคเอกชนที่อยากเห็นพื้นที่สีเขียวกลางเมืองก็มีหลากหลาย

เพราะเป็นพื้นที่ตั้งอยู่ตรงใจกลางเมือง เชื่อมโยงต่อเนื่องกับสถานที่กลุ่มอาคารเก่าแก่สำคัญอีกหลายแห่ง อันเป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่ตกทอดกันมา กลุ่มอาคาร ๖ หลังในคุก มีอายุมากกว่า ๑๐๐ ปี เป็นสถาปัตยกรรมที่มีเอกลักษณ์เฉพาะ ซึ่งหาหาดูชมได้ยาก

ขณะเดียวกัน ก็ยังมีกลุ่มความคิดที่อยากจะเห็นคุ้มเวียงแก้ว อันเป็นเสมือนจิตวิญญาณเมือง ได้ถูกรื้อฟื้นสร้างขึ้นมาใหม่ตามแบบที่พบเห็นอยู่ในรูปถ่าย

การปรับปรุงพื้นที่ตรงนั้น ยังอยู่ในความเข้าใจของคนไม่มากนัก เมื่อต้องระดมความเห็นว่าจะจัดการกับพื้นที่ ๑๗ ไร่ ๒ งาน ๖๑ ตารางวากันอย่างไร

เพราะอดีตเคยเป็นคุ้ม และคุ้มก็กลายเป็นคุก จึงมีความเห็นแตกต่างกันอยู่ บ้างก็ว่าควรทุบตึกเก่าออกไป ลบความเป็นคุกอันน่าหดหู่ออกไป สร้างคุ้มขึ้นมาใหม่ สร้างสวนสีเขียวขึ้นมาแทน บ้างก็ว่าให้เป็นพื้นที่สีเขียวทั้งหมด บ้างก็บอกเหลือตึกไว้บางส่วน นอกนั้นให้เป็นพื้นที่สีเขียวกับลานกิจกรรม สถานที่แสดงศิลปะและวัฒนธรรมของเมือง

ส่วนบางกลุ่มก็บอกว่า สถานที่เคยเป็นคุก ก็น่าจะเป็นโรงแรมแบบคุกๆหรือเปล่า หรือไม่ก็เป็นพิพิธภัณฑ์สถานจัดแสดงเกี่ยวกับคนคุก เก็บเงินกับนักท่องเที่ยวที่จะผ่านเข้าไปดู หรือไม่ก็ให้เป็นพื้นที่สวนสาธารณะ ลานแสดงดนตรี วัฒนธรรม หอศิลปะ ที่สามารถหมุนเวียนจัดงานต่อเนื่องกันได้ทั้งปี

แบบสอบถามให้เลือกจะทุบตึกทิ้งทั้งหมด หรือทุบตึกบางส่วน หรือคงสภาพเดิมไว้ ทุบกำแพงทิ้ง คงไว้บางส่วน หรือทุบกำแพงทิ้งทั้งหมด เป็นสวนต้นไม้ สนามหญ้าอย่างเดียว หรือเป็นสวนป่าไม้ยืนต้น สร้างคุ้มหลวงเก่า หรือลานกิจกรรม ที่รวมต้นไม้หายากในล้านนา

ทุกอย่างยังอยู่ในขั้นตอนระดมความเห็น ยังไม่ได้ตัดสินใจเลือกจากใคร กลุ่มองค์กรใด พูดง่ายๆว่ายังต้องถามประชาชนชาวเมืองกันว่า จะเอาพื้นที่กลางเมืองประกอบกิจกรรมใดที่เกิดประโยชน์สูงสุด ได้ทั้งการอนุรักษ์ ธรรมชาติสิ่งแวดล้อมที่ดี และช่วยเติมคุณภาพชีวิต

จากคุกเป็นพื้นที่สีเขียวกลางเมือง ดูจะมีแนวโน้มไปทางนั้น เพียงแต่ว่าจะเป็นสีเขียวอย่างเดียว หรือสีเขียวผสมอาคาร ปราศจากกำแพงหรือทุบกำแพง และใครมีหน้าที่จัดการดูแลประโยชน์ให้ได้รับการจัดสรรเป็นของส่วนรวมอย่างแท้จริง

อย่างไรก็ตาม กรณีคุกเป็นพื้นที่สีเขียว เป็นตัวอย่างหนึ่งสำหรับการจัดการที่สาธารณะ ให้เกิดบรรยากาศของสาธารณะชนอย่างแท้จริง ซึ่งกลุ่มใดๆจะเข้ามาตัดสินหยิบไปใช้ประโยชน์โดยไม่คิดหน้าคิดหลังก่อนไม่ได้

พื้นที่มีความเป็นมา บ้านเมืองมีศิลปวัฒนธรรม มรดกทางปัญญามีที่มา และประวัติศาสตร์ผืนดินไม่อาจบิดเบือนเป็นอื่น จะหลอมของใหม่กับของเก่าให้กลมกลืนกันไปได้ สานต่อให้ยืนยาวไปถึงลูกถึงหลานนั้น จำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมองให้เห็นถึงประโยชน์ต่อชีวิต วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม

ไม่ใช่ใครหรือกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง นึกจะเนรมิตทำได้ตามใจง่ายๆ ไม่เคยถามประชาชนในพื้นที่ว่าเห็นชอบด้วยหรือไม่ บทเรียนจากการก่อสร้างสถานที่ใหญ่โตโอฬารที่ผ่านมา เพื่อดึงเม็ดเงินใส่กระเป๋าบางกลุ่มบางคนนั้น วูบวาบช่วงสั้นๆเท่านั้น นับวันจะก่อปัญหา ไม่ยืนยาวไม่ก่อประโยชน์ที่จรรโลงจิตใจ ความรู้ ความดีงาม และภูมิทัศน์ที่เสริมส่งปัญญาอย่างแท้จริง
บาดแผลเป็นสัญลักษณ์ของนักสู้
ภาพประจำตัวสมาชิก
ภาษาสยาม
Administrator
Administrator
 
โพสต์: 1145
ลงทะเบียนเมื่อ: อาทิตย์ 06 ก.ค. 2008 9:43 pm

Re: เชียงใหม่ในอดีต..ภาพเก่าเล่าความหลัง

โพสต์โดย ภาษาสยาม » อาทิตย์ 28 ต.ค. 2012 10:28 am

หน้าที่ว่าการอำเภอแม่แจ่มในอดีต
552169_458309280874454_626557872_n.jpg
552169_458309280874454_626557872_n.jpg (29.49 KiB) เปิดดู 13947 ครั้ง
บาดแผลเป็นสัญลักษณ์ของนักสู้
ภาพประจำตัวสมาชิก
ภาษาสยาม
Administrator
Administrator
 
โพสต์: 1145
ลงทะเบียนเมื่อ: อาทิตย์ 06 ก.ค. 2008 9:43 pm

Re: เชียงใหม่ในอดีต..ภาพเก่าเล่าความหลัง

โพสต์โดย ภาษาสยาม » อาทิตย์ 28 ต.ค. 2012 10:30 am

แห่ลูกแก้ว..ปอยส่างลอง
374041_460673063973843_1038280924_n.jpg
374041_460673063973843_1038280924_n.jpg (53.96 KiB) เปิดดู 13899 ครั้ง
บาดแผลเป็นสัญลักษณ์ของนักสู้
ภาพประจำตัวสมาชิก
ภาษาสยาม
Administrator
Administrator
 
โพสต์: 1145
ลงทะเบียนเมื่อ: อาทิตย์ 06 ก.ค. 2008 9:43 pm

Re: เชียงใหม่ในอดีต..ภาพเก่าเล่าความหลัง

โพสต์โดย ภาษาสยาม » อาทิตย์ 28 ต.ค. 2012 11:13 am

ตั๋วเมือง (อักษรธรรมล้านนา)

196468_450439041674804_277852875_n.jpg
196468_450439041674804_277852875_n.jpg (18.57 KiB) เปิดดู 13898 ครั้ง
บาดแผลเป็นสัญลักษณ์ของนักสู้
ภาพประจำตัวสมาชิก
ภาษาสยาม
Administrator
Administrator
 
โพสต์: 1145
ลงทะเบียนเมื่อ: อาทิตย์ 06 ก.ค. 2008 9:43 pm

Re: เชียงใหม่ในอดีต..ภาพเก่าเล่าความหลัง

โพสต์โดย admin » อาทิตย์ 09 ธ.ค. 2012 11:24 am

admin_39.jpg
admin_39.jpg (222.11 KiB) เปิดดู 13655 ครั้ง


เจดีย์วัดอุโมงค์ พ.ศ๒๔๙๒ คุณลุงบุญเสริม สาตราภัยได้ถ่ายภาพด้วยฟิล์มอินฟาเรดภาพแรก
เหตุการณ์ล่วงผ่านไปอดีต เมื่อปี พ.ศ. ๑๘๓๙ พญามังรายทรงสร้างอาณาจักรล้านนาร่วมกับพระสหาย คือ พ่อขุนรามคำแหงมหาราช กษัตริย์ปกครองสุโขทัย และพระเจ้างำเมือง กษัตริย์ปกครองพะเยา มาสร้างเมืองเวียงเหล็ก (บริเวณวัดเชียงมั่นในปัจจุบัน) และตั้งชื่อเมืองว่า “นพบุรี ศรีนครพิงค์” ท่านมีความใฝ่ในศาสนาพุทธ จึงทรงทำนุบำรุง ส่งเสริมศาสนาให้รุ่งเรืองในล้านนา ในขณะนั้น ทางฝ่ายพ่อขุนรามคำแหงได้ส่งคนนิมนต์พระสงฆ์จากลังกามาอาศัยอยู่ใน จังหวัดนครศรีธรรมราช เพื่อที่พระสงฆ์ได้เผยแผ่พระพุทธศาสนาในสุโขทัย เมื่อพญามังรายทรงทราบข่าวดังกล่าวจึงส่งคนไปนิมนต์พระลังกาจากพ่อขุนรามคำแหงมา ๕ รูป โดยมีพระกัสสปะเถระเป็นหัวหน้าคณะสงฆ์นี้ โดยจำพรรษาที่วัดการโถม ต่อมาพญามังรายจึงทรงสร้างวัดเวฬุกัฏฐาราม (ปัจจุบัน คือ วัดอุโมงค์) เมื่อสร้างเสร็จจึงอาราธนาพระมหากัสสปะเถระจำพรรษาที่วัดแห่งนี้
ภาษาสยาม "งดงามความเป็นไทย"
ภาพประจำตัวสมาชิก
admin
Administrator
Administrator
 
โพสต์: 309
ลงทะเบียนเมื่อ: อาทิตย์ 06 ก.ค. 2008 9:28 pm

Re: เชียงใหม่ในอดีต..ภาพเก่าเล่าความหลัง โดย น้ำฟ้า

โพสต์โดย น้ำฟ้า » อาทิตย์ 03 พ.ย. 2013 7:33 am

ตำหนักพระองค์เจ้าบวรเดชฯ หรือ ตำหนักอุปราช อดีตอุปราชมณฑลพายัพ สร้างขึ้นที่ม่อนจ็อกป็อก หรือบริเวณลานจอดรถวัดพระธาตุดอยสุเทพในปัจจุบัน ภาพโดย คุณลุงบุญเสริม ศาสตราภัย

K6915204-30.jpg
K6915204-30.jpg (141.98 KiB) เปิดดู 12663 ครั้ง
ผู้หญิงธรรมดา..แต่ใจมันด้านชาผู้ชาย
ภาพประจำตัวสมาชิก
น้ำฟ้า
นักเขียนแห่งปี
นักเขียนแห่งปี
 
โพสต์: 886
ลงทะเบียนเมื่อ: ศุกร์ 11 ก.ค. 2008 10:19 am

ย้อนกลับต่อไป

ย้อนกลับไปยัง ร้อยเรื่องเมืองล้านนา

ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 66 ท่าน

cron