เชียงใหม่ในอดีต..ภาพเก่าเล่าความหลัง โดย น้ำฟ้า

เรื่องราวของอาณาจักรล้านนา

Re: เชียงใหม่ในอดีต..ภาพเก่าเล่าความหลัง โดย น้ำฟ้า

โพสต์โดย น้ำฝน ทะกลกิจ » พฤหัสฯ. 18 เม.ย. 2019 8:07 pm

เชียงใหม่ พ.ศ.๒๕๑๓

65445.jpg
65445.jpg (79.45 KiB) เปิดดู 4739 ครั้ง


นายฮาตาโน และนางสาวคำปุ่น ถ่ายภาพด้วยกันบริเวณน้ำปิง ด้านหน้าร้านถ่ายรูปของนายทานากะ
ร้านถ่ายรูปของนายเอ็ม ทานากะ ซึ่งเดินทางเข้ามาประเทศไทย ในปี พ.ศ.๒๔๔๓ และได้เปิดร้านถ่ายภาพในเชียงใหม่ อยู่บริเวณข้างโบสถ์คริสต์จักรที่ ๑ ริมน้ำปิง ต่อมาเมื่อญี่ปุ่นบุกไทยในช่วงสงครามโลกครั้งที่ ๒ นายเอ็ม ทานาคาก็เปลี่ยนมาเป็นทหารญี่ปุ่น
ภาพ : Sudhisak Palpho
65450.jpg
65450.jpg (125.19 KiB) เปิดดู 4739 ครั้ง
น้ำฝน ทะกลกิจ
นักเขียนแห่งปี
นักเขียนแห่งปี
 
โพสต์: 1111
ลงทะเบียนเมื่อ: อาทิตย์ 30 ก.ย. 2018 1:00 pm

Re: เชียงใหม่ในอดีต..ภาพเก่าเล่าความหลัง โดย น้ำฟ้า

โพสต์โดย น้ำฝน ทะกลกิจ » พฤหัสฯ. 18 เม.ย. 2019 8:14 pm

ถนนวิชยานนท์ พ.ศ. ๒๕๑๓

65451.jpg
65451.jpg (78.72 KiB) เปิดดู 4739 ครั้ง


คหบดีชาวไต เมืองฝาง นายส่วยละ นางส่วยผ่าน คำเจียง

65463.jpg
65463.jpg (62.35 KiB) เปิดดู 4739 ครั้ง
น้ำฝน ทะกลกิจ
นักเขียนแห่งปี
นักเขียนแห่งปี
 
โพสต์: 1111
ลงทะเบียนเมื่อ: อาทิตย์ 30 ก.ย. 2018 1:00 pm

Re: เชียงใหม่ในอดีต..ภาพเก่าเล่าความหลัง โดย น้ำฟ้า

โพสต์โดย น้ำฝน ทะกลกิจ » พฤหัสฯ. 18 เม.ย. 2019 8:17 pm

ลานครูบา พ.ศ.๒๕๑๐ - ๒๕๒๐
65465.jpg
65465.jpg (56.67 KiB) เปิดดู 4739 ครั้ง


การแห่ลูกแก้วงานปอยส่างลอง เมืองฝาง พ.ศ.๒๔๘๑
ไฟล์แนป
65470.jpg
65470.jpg (170.93 KiB) เปิดดู 4739 ครั้ง
น้ำฝน ทะกลกิจ
นักเขียนแห่งปี
นักเขียนแห่งปี
 
โพสต์: 1111
ลงทะเบียนเมื่อ: อาทิตย์ 30 ก.ย. 2018 1:00 pm

Re: เชียงใหม่ในอดีต..ภาพเก่าเล่าความหลัง โดย น้ำฟ้า

โพสต์โดย น้ำฝน ทะกลกิจ » พฤหัสฯ. 18 เม.ย. 2019 8:25 pm

ภาพของพญาคำพิจิตรธุระราษฎร์และครอบครัว ใน พ.ศ.๒๔๖๐
พญาคำพิจิตรคือผู้สร้างเหมืองพญาคำแห่งลำน้ำปิง ต้นตระกูลท่านเป็นชาวเชียงแสนถูกกวาดต้อนมาในสมัยพระเจ้ากาวิละ ท่านเป็นคนที่มีความรู้ด้านกฎหมาย และรับราชการอยู่ที่ศาลากลางจังหวัดอีกด้วย
ภาพ : อนุ เนินหาด

65487.jpg
65487.jpg (54.66 KiB) เปิดดู 4739 ครั้ง


ขบวนศพพญาคำพิจิตรธุระราษฎร์ พ.ศ.๒๔๘๑

65488.jpg
65488.jpg (77.52 KiB) เปิดดู 4739 ครั้ง



ฝายพญาคำเป็นฝายหินทิ้งกั้นลำน้ำปิงบริเวณบ้านท่าศาลา อ.เมือง จ.เชียงใหม่ ซึ่งอยู่เลยค่ายกาวิละไปทางใต้เล็กน้อย ตัวฝายมีอายุกว่า๑๐๐ ปี สร้างในสมัยพระเจ้าอินทวิชยานนท์ โดยพญาคำ ซึ่งเป็นที่เคารพนับถือของชาวบ้านได้นำชาวบ้านสร้างฝายดังกล่าวและขุดลำเหมืองขึ้น

travel_chiangmai_64_4_resize.jpg
travel_chiangmai_64_4_resize.jpg (93.38 KiB) เปิดดู 4532 ครั้ง


พญาคำเป็นคหบดีและกำนัน มีชื่อบรรดาศักดิ์เต็มว่า พญาคำวิจิตรธุระราษฎร์ ได้รับแต่งตั้งให้เป็น "กรมนา" ในสมัยรัชกาลที่ ๕ และผลจากการที่พญาคำได้นำชาวบ้านสร้างฝายและขุดลำเหมืองดังกล่าวขึ้นมา หลังจากนั้นจึงมีการเรียกฝายแห่งนี้ว่า ฝายพญาคำ มาจนกระทั่งทุกวันนี้

พญาคำ เป็นผู้หนึ่งที่ทำงานในคุ้มหลวงเชียงใหม่ ในสมัยพระเจ้าอินทวิชยานนท์ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่องค์ที่ ๗ และเป็นพระบิดาของพระราชาชายาเจ้าดารารัศมีในรัชกาลที่ ๕ ในปี พ.ศ. ๒๔๑๓ ถึง พ.ศ. ๒๔๔๐ ในสมัยนั้นมีการแต่งตั้งยศ ให้แก่ผู้ที่มีความดีความชอบ ในการทำงานช่วยประเทศชาติบ้านเมือง อาทิเช่น ยศ หมื่น ขุน ท้าว พญา เป็นต้น แล้วแต่ความดี ความชอบ พญาคำ ก็เป็นอีกท่านหนึ่ง ที่ทำงานด้วยความเสียสละ ซื่อสัตย์ จริงจัง มานะอดทน ในการปฏิบัติตามหน้าที่โดยตลอด จึงมีความดี ความชอบ ได้รับการแต่งตั้งยศ จากพระเจ้าอินทวิชยานนท์ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ เป็นพญาคำ เวลาต่อมาองค์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร.๕) ได้จัดการปกครองแบบเดิม ให้เป็นการปกครองแบบจตุสดมภ์ คือแบบ เวียง วัง คลัง นา ให้เป็นสัดส่วนในการปฏิบัติ ดังนั้น พระเจ้าอินทวิชยานนท์ จึงได้จัดกรมทั้งสี่ขึ้น มีกรมเวียง กรมวัง กรมคลัง และกรมนา เมื่อจัดตั้งเสร็จแล้ว จึงแต่งตั้งให้พญาคำท่านหนึ่งเป็นกรมนา มีหน้าที่จัดให้ราษฎรเบิกนา ทำเหมืองและฝาย เพื่อนำน้ำไปทำนา ทำสวน เท่าที่ทราบในอำเภอสารภี ที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรมนา มีหมื่นกอบการ ประชาชอบ (พ่อหมื่นรินทร์) บ้านสันป่าสัก หมู่ ๒ ตำบลหนองแฝก ท้าวด้วง (ไม่ทราบนามสกุล) บ้านหนองแฝก หมู่ ๕ ตำบลหนองแฝก และพ่อเจ้าหลวง ธรรมปัญญา บ้านกู่แดง ตำบลหนองแฝก หมู่ ๗ ต่อมาพญาคำได้นำราษฎร ขุดลำเหมืองตั้งแต่ตำบลชมพู ขึ้นมาถึงตำบลไชยสถาน ตำบลหนองผึ้งฟากตะวันออกขึ้นไปผ่านตำบลหนองหอย ผ่านหน้าที่ทำการไฟฟ้าภูมิภาคบ้านเด่น ฟากตะวันออกถนนเชียงใหม่ลำพูนแล้วก็จัดสร้างฝายกั้นน้ำแม่ปิงตรงท่าศาลา เพื่อนนำน้ำไปใช้ทำนา ทำสวน ในตำบลหนองผึ้งฟากตะวันออกตลอดไปจนถึงตำบลไชยสถาน ตำบลป่าบงบางส่วน และตำบลชำภู ไปจนสุดเขต ส่วนตำบลหนองผึ้งด้านล่าง ตำบลยางเนิ้ง ตำบลหนองแฝกฟากตะวันออก ตำบลสารภี ไปบรรจบกับน้ำล้องสามปันทางตะวันออกของบ้านสันป่าเดื่อ ตำบลหนองแฝก พญาคำ จึงมอบให้หมื่นกอบการประชาเชื่อ (พ่อหมื่นรินทร์) นำราษฎรไปขุดลำเหมืองแยกจากที่พญาคำขุดที่ตำบลหนองผึ้งผ่านตำบลยางเนิ้ง หนองแฝก สารภี ดังนั้นจึงเรียกฝายที่ท่าศาลาว่า ฝายพญาคำ (บางคนยังเรียกฝายท่าศาลาตามท่าน้ำเดิม)

ส่วนลำเหมืองที่พญาคำเป็นผู้ขุดก็ดี หรือลำเหมืองที่หมื่นกอบประชาเชื่อนำราษฎรขุดก็ดีก็ยังมีชื่อว่าเหมืองพญาคำ ทั้งสองลำเหมือง มาจนกระทั่งทุกวันนี้ ส่วนลำเหมืองล้อมสามปันที่น้ำจากลำเหมืองพญาคำฟากตะวันตก อำเภอสารภีไหลไปบรรจบนั้น นำราษฎรขุดโดยพ่อท้าวด้วง และพ่อเจ้าหลวงธรรมปัญญา ซึ่งท่านทั่งสองทำงานเป็นกรมนา เช่นเดียวกัน เริ่มขุดตั้งแต่สุดเขตตำบลท่าวังตาล สุดเขตบ้านบวกครกใต้ ลงมาใต้สุดเขตตำบลหนองแฝกใต้บ้านสันป่าเดื่อ ตำบลหนองแฝก เป็นระยะ ๓,๐๐๐ วา ประมาณ ๖ กิโลเมตร จึงมีชื่อเรียกมาถึงทุกวันนี้ว่า ล้องสามปัน

อ้างอิง : นายสมบูรณ์ บุญชู.http://lek-prapai.org/
น้ำฝน ทะกลกิจ
นักเขียนแห่งปี
นักเขียนแห่งปี
 
โพสต์: 1111
ลงทะเบียนเมื่อ: อาทิตย์ 30 ก.ย. 2018 1:00 pm

Re: เชียงใหม่ในอดีต..ภาพเก่าเล่าความหลัง โดย น้ำฟ้า

โพสต์โดย น้ำฝน ทะกลกิจ » พฤหัสฯ. 18 เม.ย. 2019 8:32 pm

รับน้อง ม.แม่โจ้ พ.ศ. ๒๕๐๙

65490.jpg
65490.jpg (50.22 KiB) เปิดดู 4739 ครั้ง


งานฤดูหนาวเชียงใหม่

65492.jpg
65492.jpg (50.63 KiB) เปิดดู 4739 ครั้ง
น้ำฝน ทะกลกิจ
นักเขียนแห่งปี
นักเขียนแห่งปี
 
โพสต์: 1111
ลงทะเบียนเมื่อ: อาทิตย์ 30 ก.ย. 2018 1:00 pm

Re: เชียงใหม่ในอดีต..ภาพเก่าเล่าความหลัง โดย น้ำฟ้า

โพสต์โดย น้ำฝน ทะกลกิจ » พฤหัสฯ. 18 เม.ย. 2019 8:36 pm

เมืองเชียงใหม่ คาดว่าถนนท่าแพ

65494.jpg
65494.jpg (42.82 KiB) เปิดดู 4739 ครั้ง


สี่แยกยุพราช พ.ศ.๒๕๒๐

65503.jpg
65503.jpg (29.45 KiB) เปิดดู 4739 ครั้ง
น้ำฝน ทะกลกิจ
นักเขียนแห่งปี
นักเขียนแห่งปี
 
โพสต์: 1111
ลงทะเบียนเมื่อ: อาทิตย์ 30 ก.ย. 2018 1:00 pm

Re: เชียงใหม่ในอดีต..ภาพเก่าเล่าความหลัง โดย น้ำฟ้า

โพสต์โดย น้ำฝน ทะกลกิจ » พฤหัสฯ. 18 เม.ย. 2019 8:50 pm

ภาพนี้สันนิษฐานว่าเป็น "หอคำหลวง"หลังเก่าก่อนจะถูกรื้อออกแล้วสร้างคุกขึ้นแทน โบราณสถานเก่าแก่ที่ถูกทิ้งในช่วงนั้น ได้แก่
๑.วัดอินทขิล สะดือเมือง ปัจจุบันได้รับการบูรณะแล้ว แต่ยังมีถนนผ่ากลางวัด ทำให้เจดีย์ ๒ องค์อยู่คนละฝั่งถนน
๒.หอคำหลวงราชวงศ์มังราย-เจ้าเจ็ดตนถูกรื้อออกแล้วสร้างทัณฑสถาน(คุกหญิง)ครอบไว้ ปัจจุบันรื้อออกแล้ว
๓.กำแพงเมืองเชียงใหม่ ถูกรื้อออกเหลือไว้เพียงแจ่ง ๔ ด้าน ปัจจุบันมีการสร้างกำแพงขึ้นบริเวณประตูท่าแพ

65505.jpg
65505.jpg (83.31 KiB) เปิดดู 4739 ครั้ง


ร้านเซ่งเฮง ถนนสันป่าข่อย เชียงใหม่ พ.ศ.๒๔๖๐

65512.jpg
65512.jpg (57.28 KiB) เปิดดู 4739 ครั้ง
น้ำฝน ทะกลกิจ
นักเขียนแห่งปี
นักเขียนแห่งปี
 
โพสต์: 1111
ลงทะเบียนเมื่อ: อาทิตย์ 30 ก.ย. 2018 1:00 pm

Re: เชียงใหม่ในอดีต..ภาพเก่าเล่าความหลัง โดย น้ำฟ้า

โพสต์โดย น้ำฝน ทะกลกิจ » พฤหัสฯ. 18 เม.ย. 2019 8:54 pm

แม่อุ๊ยกับหลานคนดอยเต่า ก่อน พ.ศ.๒๕๒๐

65525.jpg
65525.jpg (56 KiB) เปิดดู 4739 ครั้ง


พ่อเลี้ยงซาว ธรรมชัย คหบดีเมืองเชียงราย เมื่อประมาณร้อยปีที่ผ่านมา ครอบครัวของท่านเป็นคริสเตียนแต่ภายหลังเปลี่ยนมานับถือพุทธ
ไฟล์แนป
65508.jpg
65508.jpg (53.01 KiB) เปิดดู 4739 ครั้ง
น้ำฝน ทะกลกิจ
นักเขียนแห่งปี
นักเขียนแห่งปี
 
โพสต์: 1111
ลงทะเบียนเมื่อ: อาทิตย์ 30 ก.ย. 2018 1:00 pm

Re: เชียงใหม่ในอดีต..ภาพเก่าเล่าความหลัง โดย น้ำฟ้า

โพสต์โดย น้ำฝน ทะกลกิจ » พฤหัสฯ. 18 เม.ย. 2019 9:16 pm

ภาพอดีตความรักของพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช และเจ้าทิพวัน ณ เชียงใหม่

65747.jpg
65747.jpg (93.67 KiB) เปิดดู 5149 ครั้ง


เจ้าทิพวัน เป็นธิดาของเจ้าเทพดำรงค์รักษาเขต เจ้าฟ้าเมืองขุนยวม ผู้รักษาเมืองชายแดนแถบลุ่มแม่น้ำสาละวินสมัยพระเจ้าอินทวิชยานนท์เป็นเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ กับเจ้าปิมปา ณ เชียงใหม่ หลานสาวเจ้าราชบุตร (สุริยฆาต) ณ นครเชียงใหม่ เจ้าราชโอรสองค์ใหญ่ในพระเจ้ากาวิละ

เจ้าทิพวันเสกสมรสกับพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช ซึ่งได้พบรักกันในขณะที่เจ้าทิพวันได้เข้ามาอยู่กับเจ้าดารารัศมี ในพระราชวังดุสิต มีธิดา ๑ พระองค์ แต่ถึงแก่อนิจกรรมตั้งแต่คลอด

หลังจากนั้นพระองค์เจ้าบวรเดชได้เสกสมรสกับเจ้าศรีนวล ณ เชียงใหม่ น้องสาวของท่านเจ้าทิพวัน ท่านจึงกลับไปประกอบอาชีพเกษตรกรรมที่ตำบลแม่แฝก อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ ต่อมาพระองค์เจ้าบวรเดช ต้องอาญาในฐานความผิดกบฏ และหนีไปอาศัยอยู่ที่ประเทศเวียดนาม จนกระทั่งได้รับพระราชทานอภัยโทษจึงกลับมาตั้งโรงงานพิมพ์ผ้าที่อำเภอหัวหิน ซึ่งเจ้าทิพวันก็ได้เดินทางไปเยี่ยมเยียนด้วย

เจ้าทิพวัน ณ เชียงใหม่ ถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ ๒๗ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๙๗ สิริรวมอายุ ๗๑ ปี



นางกิมฮ้อ นิมมานเหมินท์ (บุตรสาวของหลวงอนุสารสุนทร) คหบดีชาวเชียงใหม่ซึ่งคนในจังหวัดเคารพนับถือ จากการเป็นผู้ริเริ่มก่อตั้งมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และอนุเคราะห์แก่สาธารณประโยชน์แก่เชียงใหม่มาตลอด นางกิมฮ้อ เกิดวันที่ ๒๐ มีนาคม พ.ศ๒๔๓๗
65749.jpg
65749.jpg (44.55 KiB) เปิดดู 5149 ครั้ง
น้ำฝน ทะกลกิจ
นักเขียนแห่งปี
นักเขียนแห่งปี
 
โพสต์: 1111
ลงทะเบียนเมื่อ: อาทิตย์ 30 ก.ย. 2018 1:00 pm

Re: เชียงใหม่ในอดีต..ภาพเก่าเล่าความหลัง โดย น้ำฟ้า

โพสต์โดย น้ำฝน ทะกลกิจ » พฤหัสฯ. 18 เม.ย. 2019 9:19 pm

คหบดีชาวไต เมืองฝาง นายส่วยละ คำเจียง และภรรยาคนแรก ในวันแต่งงาน

65748.jpg
65748.jpg (65.14 KiB) เปิดดู 5149 ครั้ง


สตรีล้านนา
ไฟล์แนป
65750.jpg
65750.jpg (30.44 KiB) เปิดดู 5149 ครั้ง
น้ำฝน ทะกลกิจ
นักเขียนแห่งปี
นักเขียนแห่งปี
 
โพสต์: 1111
ลงทะเบียนเมื่อ: อาทิตย์ 30 ก.ย. 2018 1:00 pm

Re: เชียงใหม่ในอดีต..ภาพเก่าเล่าความหลัง โดย น้ำฟ้า

โพสต์โดย น้ำฝน ทะกลกิจ » พฤหัสฯ. 18 เม.ย. 2019 9:47 pm

วัดจองออก หรือวัดจองแป้น วัดไทใหญ่วัดแรกในเมืองฝาง พ.ศ.๒๔๗๘ วิหารหลังนี้ถูกไฟไหม้ไปแล้ว

65499.jpg
65499.jpg (70.07 KiB) เปิดดู 5079 ครั้ง


ลานครูบาศรีวิชัย พ.ศ.๒๕๑๐ - ๒๕๒๐

65465.jpg
65465.jpg (56.67 KiB) เปิดดู 5079 ครั้ง
น้ำฝน ทะกลกิจ
นักเขียนแห่งปี
นักเขียนแห่งปี
 
โพสต์: 1111
ลงทะเบียนเมื่อ: อาทิตย์ 30 ก.ย. 2018 1:00 pm

Re: เชียงใหม่ในอดีต..ภาพเก่าเล่าความหลัง โดย น้ำฟ้า

โพสต์โดย น้ำฝน ทะกลกิจ » อาทิตย์ 12 พ.ค. 2019 12:00 pm

วัดมหาวัน ถนนท่าแพ เชียงใหม่
ว่ากันว่าเป็นภาพในปี ๒๔๔๘ ช่วงที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งยังเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จพระราชดำเนินเยี่ยมมณฑลพายัพ

วัดมหาวัน เชียงใหม่.jpg
วัดมหาวัน เชียงใหม่.jpg (37.49 KiB) เปิดดู 5038 ครั้ง


สนามบินเชียงใหม่ พ.ศ.๒๕๑๑
สนามบินเชียงใหม่๒๕๑๑.jpg
สนามบินเชียงใหม่๒๕๑๑.jpg (24.8 KiB) เปิดดู 5038 ครั้ง
น้ำฝน ทะกลกิจ
นักเขียนแห่งปี
นักเขียนแห่งปี
 
โพสต์: 1111
ลงทะเบียนเมื่อ: อาทิตย์ 30 ก.ย. 2018 1:00 pm

ย้อนกลับต่อไป

ย้อนกลับไปยัง ร้อยเรื่องเมืองล้านนา

ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 55 ท่าน

cron