เกร็ดล้านนาและภาพเก่าเล่าเรื่องเมืองเหนือ โดย น้ำฟ้า

เรื่องราวของอาณาจักรล้านนา

Re: เกร็ดล้านนาและภาพเก่าเล่าเรื่องเมืองเหนือ โดย น้ำฟ้า

โพสต์โดย น้ำฝน ทะกลกิจ » อาทิตย์ 22 ส.ค. 2021 10:56 am

ประชาชนและช่างช่วยกันรื้อถอนวิหารวัดสวนดอก เชียงใหม่นครล้านนาในอดีต ปี พ.ศ.๒๔๗๘ ซึ่งชาวต่างชาติถ่ายภาพเอาไว้
ภาพ : Raymond Plion
239.jpg
239.jpg (84.44 KiB) เปิดดู 22946 ครั้ง

ภาพอดีตวัดนันทาราม เชียงใหม่เมืองหลวงของล้านนาในอดีต ปี พ.ศ.๒๔๗๘ ซึ่งชาวต่างชาติถ่ายภาพเอาไว้
ภาพ : Raymond Plion
นันทาราม.jpg
นันทาราม.jpg (63.97 KiB) เปิดดู 22946 ครั้ง
น้ำฝน ทะกลกิจ
นักเขียนแห่งปี
นักเขียนแห่งปี
 
โพสต์: 1139
ลงทะเบียนเมื่อ: อาทิตย์ 30 ก.ย. 2018 1:00 pm

Re: เกร็ดล้านนาและภาพเก่าเล่าเรื่องเมืองเหนือ โดย น้ำฟ้า

โพสต์โดย น้ำฝน ทะกลกิจ » อาทิตย์ 22 ส.ค. 2021 10:59 am

ภาพอดีตประตูหัวเวียง หรือปัจจุบันเรียกว่า ประตูช้างเผือก เชียงใหม่เมืองหลวงของล้านนาในอดีต ปี พ.ศ.๒๔๗๘ ซึ่งชาวต่างชาติถ่ายภาพเอาไว้
ภาพ : Raymond Plion
ประตูหัวเวียง.jpg
ประตูหัวเวียง.jpg (65.51 KiB) เปิดดู 22946 ครั้ง

ประตูท่าแพ(เก่า) ประตูท่าแพซึ่งตั้งอยู่ในปัจจุบันนี้ เทศบาลนครเชียงใหม่และกรมศิลปากรได้ร่วมกันสร้างขึ้นมาใหม่ เมื่อปี พ.ศ.๒๕๒๘ โดยอาศัยหลักฐานทางประวัติศาสตร์และโบราณคดี ประกอบกับภาพถ่ายประตูเมืองเชียงใหม่ประตูหนึ่ง (ปัจจุบันสันนิษฐานเป็นประตูท่าแพชั้นนอก บริเวณวัดแสนฝาง) ซึ่งถ่ายเมื่อปี พ.ศ.๒๔๒๒
ประตูท่าแพ.jpg
ประตูท่าแพ.jpg (52.82 KiB) เปิดดู 22946 ครั้ง


สะพานนวรัฐ จ.เชียงใหม่ พ.ศ.๒๕๐๖
จากหนังสือ "ตำนาน โบราณสถานในเมืองเชียงใหม่และลำพูน"
ของ พระยาอนุบาลพายัพกิจ พิมพ์เมื่อพ.ศ.๒๕๐๖
#ภาพเก่าเล่าเรื่อง
14918.jpg
14918.jpg (65.92 KiB) เปิดดู 21945 ครั้ง
น้ำฝน ทะกลกิจ
นักเขียนแห่งปี
นักเขียนแห่งปี
 
โพสต์: 1139
ลงทะเบียนเมื่อ: อาทิตย์ 30 ก.ย. 2018 1:00 pm

Re: เกร็ดล้านนาและภาพเก่าเล่าเรื่องเมืองเหนือ โดย น้ำฟ้า

โพสต์โดย admin » อาทิตย์ 16 ม.ค. 2022 5:10 pm

ภาพหมู่ของเจ้านายฝ่ายเหนือ ถ่ายราวพ.ศ.๒๔๖๓
กลางภาพคือ "ตากับหลาน" เจ้าราชวงศ์เลาแก้ว(บุตรเจ้าอินทวโรรสสุริยวงศ์) อุ้มหลานคือหม่อมเจ้าหญิงฉัตรสุดา ฉัตรชัย พระธิดาในเสด็จในกรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน กับ เจ้าลดาคำ ณ เชียงใหม่
อีก ๔ ท่าน จากซ้ายไปขวาคือ
เจ้าราชภาติกวงศ์
เจ้าราชภาคินัย
เจ้าบุรีรัตน์
เจ้าราชบุตรวงศ์ตะวัน

จากหนังสือ"ดารารัศมี" ของ คุณนงเยาว์ กาญจนจารี
#ภาพเก่าเล่าเรื่อง
15579.jpg
15579.jpg (38.61 KiB) เปิดดู 22575 ครั้ง


เจ้าหล้า เจ้าหญิงเมืองลำพูน ถ่ายเมื่อประมาณปี ๒๔๔๐ ราชธิดาเจ้าอินทยงยศโชติ เจ้าผู้ครองนครลำพูน องค์ที่ ๙
15582.jpg
15582.jpg (70.24 KiB) เปิดดู 22575 ครั้ง

ภาพนี้ถ่ายที่กรุงเทพฯ ในคราวสมโภชกรุงเทพฯ ร.ศ.๑๑๖ พ.ศ.๒๔๓๙ (พ.ศ.๒๔๔๐ ปัจจุบัน)

เจ้าอินทยงยศโชติ มีราชโอรส และราชธิดา
รวม ๕ พระองค์ ณ ลำพูน มีนามตามลำดับ ดังนี้

ใน #แม่เจ้าหม่อมราชวงศ์รถแก้ว
- ธิดาหม่อมเจ้าสัตบุศ อิศรเสนา
กับ เจ้าหญิงในราชวงศ์ทิพย์จักร(มีราชโอรส ๑ ราชธิดา ๒)

๑.เจ้ามุกดา ณ ลำพูน - สมรสกับ "เจ้าราชภาคินัย น้อยเมืองไทย, เจ้าราชภาคินัยนครลำพูน"

๒.มหาอำมาตย์โท พลตรี เจ้าจักรคำขจรศักดิ์, เจ้าผู้ครองนครลำพูน องค์ที่ ๑๐

๓.เจ้าหล้า ณ ลำพูน - สมรสกับ "เจ้าน้อยจิตตะ ณ ลำพูน" ภายหลังสมรสกับ "เจ้าราชสัมพันธ์วงศ์ น้อยพุทธวงศ์ ณ เชียงใหม่, เจ้าราชสัมพันธ์วงศ์นครลำพูน"

ใน หม่อมคำเที่ยง (มีราชธิดา ๑)
เจ้าทิพนวล ณ ลำพูน

ใน หม่อมบัวจีน (มีราชธิดา ๑)
เจ้าสายเขียว ณ ลำพูน

ใน หม่อมขันคำ (ไม่มีราชโอรส ราชธิดา)

สำเนาภาพจากหอจดหมายเหตุแห่งชาติ

"สถานีรถไฟนครลำปาง"ภาพคลาสสิคเมื่อครั้งอดีตของ "นครลำปาง" ปีพุทธศักราช ๒๔๖๑ (1918's)
"วิถีชีวิต"ของผู้คนในนครลำปางในอดีต
ืัที่มา : ประตูสู่อดีต
272258079_4737978242985903_3292826956931696076_n.jpg
272258079_4737978242985903_3292826956931696076_n.jpg (39.26 KiB) เปิดดู 22544 ครั้ง
ภาษาสยาม "งดงามความเป็นไทย"
ภาพประจำตัวสมาชิก
admin
Administrator
Administrator
 
โพสต์: 309
ลงทะเบียนเมื่อ: อาทิตย์ 06 ก.ค. 2008 9:28 pm

Re: เกร็ดล้านนาและภาพเก่าเล่าเรื่องเมืองเหนือ โดย น้ำฟ้า

โพสต์โดย admin » อาทิตย์ 23 ม.ค. 2022 3:40 pm

ขบวนแห่พระศพของพลตรีเจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่องค์สุดท้าย
วันที่ ๒๓ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๘๒
ที่มา : เพจ ห้องวิจัยประวัติศาสตร์
195420409_4138043482955385_1902546831751339430_n.jpg
195420409_4138043482955385_1902546831751339430_n.jpg (101.06 KiB) เปิดดู 22544 ครั้ง


ภาพเก่าเจดีย์หลวง จ.เชียงใหม่ ประมาณปี พ.ศ.๒๕๒๐
เป็นภาพก่อนการบูรณะ ในอดีตเจดีย์จะดูยิ่งใหญ่กว่าปัจจุบัน เพราะหลังบูรณะฐานเจดีย์ถูกถมให้ต่ำกว่าระดับเดิมลงไปเกือบเมตร
ที่มา : เชียงใหม่ที่คุณไม้เคยเห็น
30571770_1964022360579178_8863975284423461294_n.jpg
30571770_1964022360579178_8863975284423461294_n.jpg (98.46 KiB) เปิดดู 22544 ครั้ง


ภาพงานบวชในจังหวัดลำพูน ไม่มีข้อมูล พ.ศ
ขอบคุณเจ้าของภาพ
271723629_4928144893904174_4488969293165984007_n.jpg
271723629_4928144893904174_4488969293165984007_n.jpg (124.61 KiB) เปิดดู 22544 ครั้ง


เจียงใหม่ในอดีต บริเวณประตูท่าแพ
ภาพ : กำพล พรหมพิชัย
134364283_844724182990823_8831130784561630994_n.jpg
134364283_844724182990823_8831130784561630994_n.jpg (80.38 KiB) เปิดดู 22544 ครั้ง
ภาษาสยาม "งดงามความเป็นไทย"
ภาพประจำตัวสมาชิก
admin
Administrator
Administrator
 
โพสต์: 309
ลงทะเบียนเมื่อ: อาทิตย์ 06 ก.ค. 2008 9:28 pm

Re: เกร็ดล้านนาและภาพเก่าเล่าเรื่องเมืองเหนือ โดย น้ำฟ้า

โพสต์โดย ภาษาสยาม » จันทร์ 04 เม.ย. 2022 5:27 am

เรือนจำจังหวัดลำพูนในอดีตตั้งอยู่ถนนอินทยงยศ ตรงข้ามวัดพระธาตุหริภุญชัยวรมหาวิหาร กรมศิลปากรได้นำที่ดินผืนนี้ก่อสร้างอาคารพิพิธภัณฑ์หลังใหม่ขึ้น แล้วเสร็จในปี พุทธศักราช ๒๕๑๗ ใช้ชื่อว่า พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติหริภุญไชย จังหวัดลำพูน (แสดงว่าภาพนี้ก่อนปี ๒๕๑๗) ที่มา : พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติหริภุญไชย จังหวัดลำพูน
11.jpg
11.jpg (234.27 KiB) เปิดดู 21064 ครั้ง
บาดแผลเป็นสัญลักษณ์ของนักสู้
ภาพประจำตัวสมาชิก
ภาษาสยาม
Administrator
Administrator
 
โพสต์: 1178
ลงทะเบียนเมื่อ: อาทิตย์ 06 ก.ค. 2008 9:43 pm

Re: เกร็ดล้านนาและภาพเก่าเล่าเรื่องเมืองเหนือ โดย น้ำฟ้า

โพสต์โดย ภาษาสยาม » เสาร์ 04 มิ.ย. 2022 7:32 pm

#ภาพชุดพ่อค้าหมูหน้อย ความทรงจ๋ำในวันเก่ารุ่นพ่อแม่ พ่ออุ๊ยแม่อุ๊ย ตะก่อนภาคเหนือเฮาจะมีพ่อค้าหมูหน้อยเอาหมูหน้อยมาเร่ขายในหลายพื้นที่ แต่ส่วนใหญ่จะหันเอาต่างรถถีบ ต่างรถเครื่องมาเนาะ หาบมาแบบนี้น่าจะรุ่นอุ๊ยปุ้นเนาะ ขอบคุณเจ้าของภาพทุกภาพ บางภาพได้มาจาก Mario De Biasi ช่างภาพอิตาลี มาถ่ายภาพที่เชียงใหม่ ปี ๑๙๖๑ (พ.ศ.๒๕๐๔)และ วินัย ซาวด์
182659.jpg
182659.jpg (151.2 KiB) เปิดดู 20762 ครั้ง

106650.jpg
106650.jpg (34.25 KiB) เปิดดู 20762 ครั้ง

106649.jpg
106649.jpg (96.03 KiB) เปิดดู 20762 ครั้ง

106647.jpg
106647.jpg (47.11 KiB) เปิดดู 20762 ครั้ง
บาดแผลเป็นสัญลักษณ์ของนักสู้
ภาพประจำตัวสมาชิก
ภาษาสยาม
Administrator
Administrator
 
โพสต์: 1178
ลงทะเบียนเมื่อ: อาทิตย์ 06 ก.ค. 2008 9:43 pm

Re: เกร็ดล้านนาและภาพเก่าเล่าเรื่องเมืองเหนือ โดย น้ำฟ้า

โพสต์โดย ภาษาสยาม » เสาร์ 23 ธ.ค. 2023 4:59 pm

ทำสะพานชั่วคราว..เพี่อนำไม้ข้ามมาอีกฝั่ง..ประมาณ พ.ศ.๒๕๑๒ พื้นที่บ้านร่องเคาะ- บ้านทุ่งฝูง อ.วังเหนือ จ.ลำปาง
405338577_931462835187745_8340372873961079289_n_2.jpg
405338577_931462835187745_8340372873961079289_n_2.jpg (186.47 KiB) เปิดดู 19278 ครั้ง

406387471_931462901854405_6820786083006698196_n_2.jpg
406387471_931462901854405_6820786083006698196_n_2.jpg (181.57 KiB) เปิดดู 19278 ครั้ง

การย้ายถิ่นฐานของชาวพะเยาดั้งเดิม โดยย้ายจากลำปางไปพะเยาและเชียงราย พ.ศ.๒๔๖๒ ในอดีตเมืองพะเยา มีกำเนิดขึ้นตามลักษณะทางกายภาพของพื้นที่ราบลุ่มแม่น้ำกก ได้แก่ แอ่งเชียงราย เป็นที่ราบลุ่มค่อนข้างกว้างใหญ่ พื้นดินอุดสมบูรณ์เหมาะแก่การเกษตรกรรม เขตตอนมีเชียงรายเป็นศูนย์กลาง แบ่งเป็นตอนเหนือ มีเชียงราย – เชียงแสน และตอนใต้มีพะเยาอยู่ในลุ่มแม่น้ำอิง การตั้งถิ่นฐานของชาวพะเยา จะกระจายตามแอ่งหรือที่ราบลุ่มแม่น้ำเป็นแนวยาวตามลำน้ำอิง ชุมชนที่เกิดขึ้นในระยะแรก ๆ เป็นชุมชนเล็ก ๆ แยกกันอยู่เป็นแห่ง ๆ มีผู้นำชุมชนในนามของเจ้าผู้ปกครอง การตั้งชุมชนบ้านและเมืองได้พัฒนาจากถิ่นฐานที่อยู่ของชนเผ่าพื้นเมืองที่มีวัฒนธรรมด้อยกว่า ผสมผสานกับวัฒนธรรมต่างถิ่นที่เจริญกว่า
ภาพ : หอจดหมายเหตุแห่งชาติ
434664077_810611927776585_6719819241557630517_n.jpg
434664077_810611927776585_6719819241557630517_n.jpg (289.48 KiB) เปิดดู 335 ครั้ง
บาดแผลเป็นสัญลักษณ์ของนักสู้
ภาพประจำตัวสมาชิก
ภาษาสยาม
Administrator
Administrator
 
โพสต์: 1178
ลงทะเบียนเมื่อ: อาทิตย์ 06 ก.ค. 2008 9:43 pm

Re: เกร็ดล้านนาและภาพเก่าเล่าเรื่องเมืองเหนือ โดย น้ำฟ้า

โพสต์โดย น้ำฝน ทะกลกิจ » พุธ 08 พ.ค. 2024 11:49 am

การซ่อม รื้อหลังคา และการซ่อมบำรุงอาคารที่ทรุดโทรมของอาคารที่ว่าการอำเภอวังชิ้นในยุคแรก เป็นอาคารเรือนไม้สักสูง ๒ ชั้น มีปีกอาคารสองด้าน มุงหลังคาด้วยกระเบื้องว่าว มีบันไดที่สามารถขึ้นได้สองทางอยู่ด้านหน้า เป็นอาคารไม้สักทั้งหลัง ภาพถ่ายในราวปีพุทธศักราช ๒๕๐๗
ภาพ : แป้หม่าเก่า
434177881_802380661920928_6764065932125134425_n.jpg
434177881_802380661920928_6764065932125134425_n.jpg (149.34 KiB) เปิดดู 335 ครั้ง

ขบวนแห่กีฬาโรงเรียนบุญสิษฐ์วิทยา บริเวณสามแยกหน้าตลาดสดพะเยาเมื่อปี ๒๕๐๗
ที่มา : ภาพเก่าเล่าอดีต
435409.jpg
435409.jpg (64.93 KiB) เปิดดู 335 ครั้ง

บ้านแปดเหลี่ยม บ้านหัวดง ต.พระหลวง อ.สูงเม่น จ.แพร่ เป็นบ้านของช่างทำล้อเกวียน อายุบ้านประมาณ ๗๕ ปี ป้าลำดวนเล่าว่าพ่อเป็นช่างทำล้อเกวียนขาย ด้วยแนวคิดไม่อยากได้บ้านเหมือนใครในหมู่บ้าน จึงได้สร้างบ้านล้านนาสไตล์ผสมผสานรูปทรงแปดเหลี่ยมขึ้น ทำให้รู้สึกแปลกตาต่อผู้คนที่ผ่านมาพบเห็น เดิมใช้ใบตองตึงมุงเป็นหลังคา แต่ก็อยู่ได้ไม่นาน ๒ ปีต้องเปลี่ยนหลังคา จากนั้นใช้หญ้าคาแทนก็ประสบปัญหาเดิมคือต้องเปลี่ยนทุกๆ ๒ ปี ต่อมามีเถ้าแก่ที่มาซื้อล้อเกวียนมาพบเห็น จึงได้นำสังกะสีมามอบให้ใช้มุงหลังคา
ที่มา เพจเชาว์ไปไหน
6434559.jpg
6434559.jpg (808.6 KiB) เปิดดู 335 ครั้ง
น้ำฝน ทะกลกิจ
นักเขียนแห่งปี
นักเขียนแห่งปี
 
โพสต์: 1139
ลงทะเบียนเมื่อ: อาทิตย์ 30 ก.ย. 2018 1:00 pm

Re: เกร็ดล้านนาและภาพเก่าเล่าเรื่องเมืองเหนือ โดย น้ำฟ้า

โพสต์โดย ภาษาสยาม » จันทร์ 13 พ.ค. 2024 3:31 pm

โสเภณีสนาม ที่ โรงแรมไทยปรารถนา โรงแรมมันเปย์ เชียงใหม่ ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ ๒ (พ.ศ.๒๔๘๔-๒๔๘๘)
จากหนังสือ สังคมเมืองเชียงใหม่เล่มที่ ๒ ผู้เขียน พ.ต.ท.อนุ เนินหาด
427984329.jpg
427984329.jpg (62.76 KiB) เปิดดู 147 ครั้ง

ภาพเก่าในอดีต เมื่อเดินทางไปต่างจังหวัดคนมักจะไปพักกันที่วัด
44241197.jpg
44241197.jpg (117.05 KiB) เปิดดู 147 ครั้ง

สนามฟุตบอล โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จ.เชียงใหม่ ประมาณ พ.ศ.๒๔๙๘ นักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ขณะไปทัศนศึกษาในจังหวัดทางภาคเหนือ มีการแข่งขันฟุตบอลนัดกระชับมิตรที่โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
คุณพอพัฒน์ มณีรัตน์ ผู้ถ่ายภาพ
จาก ... เพจ ภาพเก่าเล่าความหลัง
4412059259.jpg
4412059259.jpg (70.31 KiB) เปิดดู 147 ครั้ง
บาดแผลเป็นสัญลักษณ์ของนักสู้
ภาพประจำตัวสมาชิก
ภาษาสยาม
Administrator
Administrator
 
โพสต์: 1178
ลงทะเบียนเมื่อ: อาทิตย์ 06 ก.ค. 2008 9:43 pm

Re: เกร็ดล้านนาและภาพเก่าเล่าเรื่องเมืองเหนือ โดย น้ำฟ้า

โพสต์โดย ภาษาสยาม » จันทร์ 13 พ.ค. 2024 3:41 pm

สาวช่างฟ้อนแห่ครัวตานเข้าวัด ไปตามท้องถนนสายต้นยางสารภี จังหวัดเชียงใหม่ ในปี พ.ศ.๒๕๐๓
440120099.jpg
440120099.jpg (63.15 KiB) เปิดดู 147 ครั้ง

กำแพงเมืองชั้นนอก บริเวณประตูหายยา จ.เชียงใหม่ วันที่ ๑๒ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๑๐
ผู้ถ่ายภาพคืออาจารย์ถิ่น รัติกนก อดีตคณบดี คณะมนุษยศาสตร์ มช. และอดีตอาจารย์ประจำภาควิชาประวัติศาสตร์
จากเพจ เรือนเดิม คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
44093469.jpg
44093469.jpg (51.1 KiB) เปิดดู 147 ครั้ง

บ้านหลุยส์ ทีเลียโนเว้นส์ จังหวัดลำปาง อายุกว่าร้อยปี งามงานไม้สักสุดคลาสสิค
ขอบคุณเจ้าของภาพ
4381702869.jpg
4381702869.jpg (208.4 KiB) เปิดดู 147 ครั้ง
บาดแผลเป็นสัญลักษณ์ของนักสู้
ภาพประจำตัวสมาชิก
ภาษาสยาม
Administrator
Administrator
 
โพสต์: 1178
ลงทะเบียนเมื่อ: อาทิตย์ 06 ก.ค. 2008 9:43 pm

Re: เกร็ดล้านนาและภาพเก่าเล่าเรื่องเมืองเหนือ โดย น้ำฟ้า

โพสต์โดย ภาษาสยาม » จันทร์ 13 พ.ค. 2024 3:46 pm

รถเมลเจียงใหม่ สมัยยุค ๘๐ - ๙๐
สาย ๑ สวนดอก
สาย ๒ หนองประทีป
สาย ๓ ห้วยแก้ว
4403621869.jpg
4403621869.jpg (205.47 KiB) เปิดดู 146 ครั้ง

โรงเรียนดาราวิทยาลัย จ.เชียงใหม่ ถ่ายวันที่ ๒๘ มกราคม พ.ศ.๒๔๖๙
จาก เพจ สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ
4410489.jpg
4410489.jpg (45.53 KiB) เปิดดู 146 ครั้ง

วัดเกตการาม จ.เชียงใหม่ ถ่ายราว พ.ศ.๒๔๖๖-๒๔๖๗
ที่มา : National Archives of Thailand, Thailand
จาก เพจ 77PPP
441316089.jpg
441316089.jpg (43.65 KiB) เปิดดู 146 ครั้ง
บาดแผลเป็นสัญลักษณ์ของนักสู้
ภาพประจำตัวสมาชิก
ภาษาสยาม
Administrator
Administrator
 
โพสต์: 1178
ลงทะเบียนเมื่อ: อาทิตย์ 06 ก.ค. 2008 9:43 pm

Re: เกร็ดล้านนาและภาพเก่าเล่าเรื่องเมืองเหนือ โดย น้ำฟ้า

โพสต์โดย ภาษาสยาม » จันทร์ 13 พ.ค. 2024 3:51 pm

คงเป็นนักท่องเที่ยวจากกรุงเทพฯ(ดูจากทะเบียนรถ )เที่ยวชมวัดสวนดอก เชียงใหม่ รุ่นนี้คือ FIAT Milicento 1100 cc
ผลิตในปี 1955 (๒๔๙๘) เเต่ไม่มีข้อมูลวันเวลาที่ถ่ายรูปนี้น่าจะประมาณ ๒๕๐๐ + ขึ้นมา คาดว่าภาพนี้เดิมๆ น่าจะเป็นภาพ ขาว -ดำ
เครดิต : เชียงใหม่นิวส์
เรียบเรียง: Tui Horwang
4403369.jpg
4403369.jpg (82.86 KiB) เปิดดู 146 ครั้ง

รู้หรือไม่ ? ถนนแม่มาลัย – ปาย คือเส้นทางมรณะที่เปื้อนเลือดและน้ำตา จากสงครามโลกครั้งที่ ๒
๗๖๒ โค้ง ตามทางหลวงหมายเลข ๑๐๙๕ ตอน แม่มาลัย – ปาย ที่มีปลายทางถนนสายนี้อยู่ที่"ปาย" อำเภอเล็กๆ ในจังหวัดแม่ฮ่องสอน แต่จะมีใครรู้บ้างว่าทางหลวง ๑๐๙๕ ที่พาดผ่านสะพานข้ามแม่น้ำปาย จนถึงแผ่นดินขุนยวม เป็นตำนานสุสานฝั่งร่างทหารซามูไรจำนวนมาก ช่วงสงครามโลก ครั้งที่ ๒

หลังจากประเทศญี่ปุ่นประกาศสงครามกับฝ่ายสัมพันธมิตร และได้เคลื่อนกำลังพลเข้ามาตั้งฐานทัพในประเทศไทย เพื่อลำเลียงเสบียงอาหารและยุทโธปกรณ์ต่าง ๆ โดยผ่านจังหวัดแม่ฮ่องสอน เพื่อเข้าโจมตีประเทศพม่า (เมืองขึ้นอังกฤษในขณะนั้น) แต่ด้วยการเดินทัพอันยากลำบากบนเส้นทางที่เป็นหุบเขา และมีลำน้ำปายขวางกั้น กองทหารญี่ปุ่นจึงได้เกณฑ์ชาวไทยจากหมู่บ้านต่าง ๆ ให้ขุดถางเส้นทางจาก จังหวัดเชียงใหม่ ไปยัง จังหวัดแม่ฮ่องสอน

ถนนสู่เมืองปาย ได้ถูกสร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ.๒๔๘๔ โดยทหารชาวญี่ปุ่น ซึ่งใช้เวลาก่อสร้างเกือบ ๔ ปี มีการว่าจ้างชาวกระเหรี่ยงวันละ ๕๐ สตางค์ - ๑.๕๐ บาทต่อคน และยังเกณฑ์ชาวบ้านในเขตจังหวัดแม่ฮ่องสอน​ ทำการขุดถางทางไปยังจังหวัดเชียงใหม่อีกด้วย โดยทั้งสองทางจะมาบรรจบกันที่เหนือฝั่งแม่น้ำบ้านท่าปาย

นี่คือ เส้นทางประวัติศาสตร์ที่เริ่มจากแยกแม่มาลัย อ.แม่แตง จ.เชียงใหม่ ผ่านไปยัง อ.ปาย, อ.ปางมะผ้า, อ.ขุนยวม จ.แม่ฮ่องสอน จนถึงบ้านห้วยต้นนุ่น เมืองตองอูของพม่า สร้างขึ้นช่วงสงครามโลก ครั้งที่ ๒

ที่มา ซามูไร ประวัติศาสตร์
4404048.jpg
4404048.jpg (98.51 KiB) เปิดดู 146 ครั้ง

บรรยากาศเงียบสงบที่ถนนเจริญราษฎร์ จ.เชียงใหม่ ด้านหลังวัดเกตการาม พ.ศ.๒๕๑๐
คุณลุงบุญเสริม สาตราภัย ผู้ถ่ายภาพ
ที่มา : หอจดหมายเหตุแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าฯ เชียงใหม่
4409399.jpg
4409399.jpg (60.12 KiB) เปิดดู 146 ครั้ง
บาดแผลเป็นสัญลักษณ์ของนักสู้
ภาพประจำตัวสมาชิก
ภาษาสยาม
Administrator
Administrator
 
โพสต์: 1178
ลงทะเบียนเมื่อ: อาทิตย์ 06 ก.ค. 2008 9:43 pm

ย้อนกลับ

ย้อนกลับไปยัง ร้อยเรื่องเมืองล้านนา

ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิก และ บุคคลทั่วไป 2 ท่าน

cron